Fruity Cherry Heart
ยินดีตอนรับเหล่าทหารกล้าหาญทุกท่าน

วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

Royal Thai Navy Combatant Ship Specification



Royal Thai Navy Combatant Ship Specification 



ข้อมูลมูลด้านจำนวนผมยึดจาก thaiarmedforce เป็นหลักนะครับและรูปภาพในบางรูปนั้นอาจไม่ใช่รูปกองกองทัพไทยแต่อาวุธในรูปมีประจำการในกองทัพนะครับ





เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ (เรือ บฮ.)


ชุด ร.ล.จักรีนฤเบศร 

หมายเลข ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

911 ร.ล.จักรีนฤเบศร (20 มีนาคม 2540) 

ผู้ สร้าง 

Empresa Nacional Bazan ประเทศสเปน

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 7,000 ตัน เต็มที่ 11,485 ตัน 
ความยาว 182.6 ม. ความกว้าง 30.5 ม. กินน้ำลึก 6.3 ม. 
ความเร็วสูงสุด 27 น็อต ความเร็วเดินทาง 12 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็ว 16.5 น็อต 7,150 ไมล์ ที่ความเร็ว 12 น็อต 10,000 ไมล์ 
ความคงทนทะเลระดับ sea state 9 (ระดับ 6 สำหรับปฏิบัติการปกติ และระดับ 5 สำหรับส่งกำลังเพิ่มเติมในทะเล) 
กำลังพลประจำเรือ 451 นาย กำลังพลประจำหน่วยบิน 145 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ระบบ CODOG ประกอบด้วย 
- เครื่องยนต์ดีเซล MTU 16V 1163 TB83 กำลัง 6,437 แรงม้า 2 เครื่อง 
- เครื่องยนต์ก๊าซเทอร์ไบน์ General Electric LM 2500 กำลัง 22,125 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MAN Diesel 14V 20/27 กำลังไฟฟ้า 1,200 กิโลวัตต์ 4 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบปรับมุมได้ 
เครื่องจักรช่วย ประกอบด้วย 
- เครื่องปรับอากาศ ขนาด 155 ตัน 3 เครื่อง 
- เครื่องทำความเย็น ขนาด 5 ตัน 2 เครื่อง 
- เครื่องปรับแต่งอาการโคลงของเรือ 2 เครื่อง 
- เครื่องผลิตน้ำจืดแบบ reverse osmosis ขนาด 35 ตัน/วัน 4 เครื่อง 
- เครื่องบำบัดน้ำเสียแบบ physical-chemical type 
- ระบบลิฟท์โดยสาร 5 ชุด 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk 20 DM6 ขนาด 20 มม./85 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 4 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
แท่นยิง Sadral สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-อากาศ MBDA Mistral 3 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง 
มีพื้นที่รองรับการติดตั้งแท่นยิง Mk 41 VLS 1 แท่น 8 ท่อยิง สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-อากาศ Raythoen RIM-162B ESSM ท่อยิงละ 4 นัด รวม 32 นัด 
เฮลิคอปเตอร์ปราบเรือดำน้ำ Sikorsky S-70B Seahawk 6 เครื่อง 
เฮลิคอปเตอร์ลำเลียง Sikorsky MH-60S Knighthawk 2 เครื่อง 
รองรับเครื่องบินขับไล่ขึ้น-ลงทางดิ่ง McDonnell Douglas AV-8S/TAV-8S Harrier ได้ 9 เครื่อง 
เรือระบายพลขนาดเล็ก (LCVP) 2 ลำ 
เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 2 ลำ 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ Saab Sea Giraffe AMB 3D 
เรดาร์ควบคุมการยิง Thales STIR 1.8 2 ชุด 
เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine VisionMaster FT 2 ชุด 
ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ ITT Excelis AN/SLD-4(V) (ES-3601) 
ระบบอำนวยการรบ Saab/Avia Satcom TH-9LV Mk.4 
ระบบถามสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk XII (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ Sea Giraffe) Selex Communications SIT422 CI 
ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk XII Selex Communications M425 NGIFF 
ระบบแสดงตนอัตโนมัติสำหรับอากาศยาน Saab ADS-B 
ระบบแสดงตนอัตโนมัติสำหรับเรือ Saab AIS 
ระบบช่วยเดินอากาศทางยุทธวิธี (TACAN) NavCom Defense Electronics AN/URN-25 
ระบบสื่อสารแบบรวมการ Saab TactiCall ICS 
ระบบวิทยุสื่อสาร Rohde & Schwarz M3SR/M3AR w/ SECOS
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม M-VSAT 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Saab Link E และ Link G (TIDLS) 
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Saab Link 11 (TADIL-B) 
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom/Rohde & Schwarz Link RTN 
ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย แบบริงเลเซอร์ Raytheon Anschutz MINS 
เครื่องวัดความเร็วเรือ John Lilley & Gillie Chernikeeff Aquaprobe Mk5 Naval 
ระบบควบคุมระบบเรือแบบรวมการ (IPMS) Imtech Marine UniMACS 3000 

ขีดความสามารถในการปฏิบัติการบิน 

(1) ดาดฟ้าบิน 
ความยาว 174.6 ม. ความกว้าง 27.5 ม. 
โครงสร้างดาดฟ้าบินรองรับอากาศยานที่มีน้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุดได้ถึง 136 ตัน 
สกีจั๊มพ์ที่หัวเรือ มุมลาดเอียง 12 องศา สำหรับช่วยในการวิ่งขึ้นของเครื่องบินขับไล่ขึ้น-ลงทางดิ่ง 
จุดรับส่งเฮลิคอปเตอร์บนดาดฟ้าบิน 5 จุด ประกอบด้วย 
- บริเวณกราบซ้าย 4 จุด คือ จุดที่ 1 ถึง 4 จากหัวเรือไปท้ายเรือ 
- บริเวณกราบขวาหน้าลิฟท์อากาศยานตัวหน้า 1 จุด คือ จุดที่ 5 
พื้นที่จุดรับส่งเฮลิคอปเตอร์ที่ 4 บริเวณท้ายเรือ รองรับเฮลิคอปเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น Boeing CH-47D Chinook ได้ 
สถานีบริการอากาศยานบนดาดฟ้าบิน ประกอบด้วย 
- สถานีรับส่งน้ำมันเชื้อเพลิง 3 สถานี 
- สถานีจ่ายกระแสไฟฟ้า 3 สถานี
- สถานีจ่ายน้ำกลั่น 3 สถานี 
สถานีป้องกันความเสียหายบนดาดฟ้าบิน 9 สถานี 
สถานีจ่ายฟองทางกล (aqueous film forming foam หรือ AFFF) บนดาดฟ้าบิน 8 สถานี 
(2) โรงเก็บอากาศยาน 
พื้นที่ 2,125 ตร.ม. บริเวณใต้ดาดฟ้าบิน 2 ใน 3 ของความยาวตัวเรือส่วนท้าย
สามารถรองรับอากาศยานได้พร้อมกันทั้งหมด ดังนี้ 
- เครื่องบินขับไล่ McDonnell Douglas AV-8S/TAV-8S Harrier 6 เครื่อง 
- และ เฮลิคอปเตอร์ Sikorsky S-70B Seahawk หรือ Sikorsky MH-60S Knighthawk 8 เครื่อง 
สิ่งอำนวยความสะดวกและอุปกรณ์ซ่อมบำรุงอากาศยานขั้นกลาง
(3) พื้นที่ บรรทุกอากาศยาน 
พื้นที่รวมบนดาดฟ้าบินและในโรงเก็บอากาศยาน สามารถรองรับอากาศยานได้ ดังนี้ 
- เครื่องบินขับไล่ McDonnell Douglas AV-8S/TAV-8S Harrier สูงสุด 12 เครื่อง 
- หรือ เฮลิคอปเตอร์ Sikorsky S-70B Seahawk สูงสุด 10 เครื่อง ในภารกิจปฏิบัติการทางเรือ 
- หรือ เฮลิคอปเตอร์ Sikorsky MH-60S Knighthawk สูงสุด 14 เครื่อง ในภารกิจลำเลียง 
(4) ลิฟท์ 
ลิฟท์อากาศยาน ระหว่างดาดฟ้าบินกับโรงเก็บอากาศยาน 2 ชุด ประกอบด้วย 
- บริเวณกราบขวาหน้าสะพานเดินเรือ 1 ชุด 
- บริเวณท้ายเรือในแนวกลางดาดฟ้าบิน 1 ชุด 
โครงสร้างลิฟท์อากาศยานรองรับน้ำหนักอากาศยานได้ 20 ตัน 
ลิฟท์ลำเลียงสรรพาวุธ 2 ชุด ประกอบด้วย 
- ลิฟท์ระหว่างดาดฟ้าบินกับคลังสรรพาวุธ 1 ชุด บริเวณกราบขวาหน้าลิฟท์อากาศยานตัวหน้า 
- ลิฟท์ระหว่างโรงเก็บอากาศยานกับคลังสรรพาวุูธ 1 ชุด 
(5) ส่วนควบคุม/สนับสนุนการปฏิบัติการ 
ห้องควบคุมการบิน (primary flight control หรือ Pri-Fly) 
ห้องสนับสนุนอากาศยานภาคพื้น (flight deck control)
ห้องควบคุมการจราจรทางอากาศ (air traffic control) 
ห้องบรรยายสรุปการบิน/เตรียมบิน (ready room) 
ห้องอุตุนิยมวิทยา 
ขีดความสามารถอื่นๆ 
สิ่งอำนายความสะดวกในการบัญชาการรบ ประกอบด้วย 
- ห้องผู้บัญชาการหมวดเรือ 
- ดาดฟ้าผู้บังคับหมวดเรือ (flag bridge หรือ admiral bridge) 
- ศูนย์บัญชาการหมวดเรือ (flag plot หรือ tactical flag command center) 
- ศูนย์ควบคุมทางอากาศยุทธวิธี (tactical air control center หรือ TACC) 
ห้องรับรองบุคคลสำคัญ (กรณีใช้เป็นเรือพระที่นั่ง) 
พื้นที่จัดเก็บเรือระบายพลขนาดเล็ก 2 ลำ ในโรงเก็บอากาศยานบริเวณกราบขวาหน้าลิฟท์อากาศยานตัวหน้า 
เครนประจำที่ ติดตั้งบนดาดฟ้าบิน บริเวณกราบขวาข้างลิฟท์อากาศยานตัวหน้า 
ระบบเติมเชื้อเพลิงในทะเล (fueling-at-sea หรือ FAS system) บริเวณกราบขวาข้างสะพานเดินเรือ 
ห้องเก็บเสบียงสดและแห้ง สำหรับปฏิบัติการได้นานประมาณ 30 วัน 
โรงพยาบาล ประกอบด้วย 
- ห้องพักผู้ป่วยขนาด 12 เตียง และห้องพักผู้ป่วยติดเชื้อขนาด 3 เตียง 
- ห้องช่วยเหลือผู้ประสบภัยขนาด 26 เตียง 
- ห้องตรวจโรค ห้องผ่าตัด ห้องเอกซ์เรย์ ห้องทันตกรรม และคลังเวชภัณฑ์


เรือฟริเกต (เรือ ฟก.)



ชุด ร.ล.ปิ่นเกล้า (Cannon class escort destroyer) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

413 ร.ล.ปิ่นเกล้า (19 พฤษภาคม 2502) 

หมายเหตุ 

เดิม คือ เรือ USS Hemminger (DE-746) ของกองทัพเรือสหรัฐฯ 
ได้รับมอบตามข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐอเมริกา 

ผู้สร้าง 

Western Pipe and Steel Company ประเทศสหรัฐอเมริกา 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 1,240 ตัน เต็มที่ 1,900 ตัน 
ความยาว 93.3 ม. ความกว้าง 11.6 ม. กินน้ำลึก 4.5 ม. 
ความเร็วสูงสุด 20 น็อต ความเร็ว เดินทาง 12 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 4,500 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 11,500 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 192 นาย 

เครื่องจักร

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล-ไฟฟ้า General Motors 16-278A กำลัง 1,600 แรงม้า 4 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล กำลังไฟฟ้า 680 กิโลวัตต์ 
เพลาใบจักร 2 เพลา 
ความจุถังเชื้อเพลิง 260 ตัน 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ Mk 22 mod 0 ขนาด 76 มม./50 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 3 แท่น 
ปืนใหญ่กล Mk 1 mod 2 ขนาด 40 มม./56 คาลิเบอร์ แท่นคู่ 3 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 4 แท่น 
แท่นยิง Mk 32 mod 5 สำหรับตอร์ปิโด Raytheon Mk 44 mod 1 หรือ Raytheon Mk 46 mod 5A(S) 2 แท่น แท่นละ 3 ท่อยิง 
แท่นยิง Mk 6 mod 1 สำหรับระเบิดลึก Mk 9 8 แท่น แท่นละ 3 ลูก
รางปล่อยระเบิดลึก Mk 9 สำหรับระเบิดลึก Mk 6 2 ราง รางละ 8 ลูก หรือ Mk 9 2 ราง รางละ 10 ลูก

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ Westinghouse AN/SPS-6C 
เรดาร์เดินเรือ 2 ชุด 
โซนาร์หัวเรือ AN/SQS-11
ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Lockheed Martin Mk 264 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M


ชุด ร.ล.นเรศวร (Type 025T class frigate) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

421 ร.ล.นเรศวร (15 ธันวาคม 2537) 
422 ร.ล.ตากสิน (28 กันยายน 2538) 

ผู้สร้าง 

China State Shipbuilding Corperation (CSSC) ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 2,800 ตัน เต็มที่ 2,985 ตัน 
ความยาว 120.5 ม. ความกว้าง 13.7 ม. กินน้ำลึก 6.0 ม. 
ความเร็วสูงสุด 32 น็อต ความเร็วเดินทาง 18 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 4,000 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 184 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ระบบ CODOG ประกอบด้วย 
- เครื่องยนต์ดีเซล MTU 20V 1163 TB83 กำลัง 7,371 แรงม้า 2 เครื่อง 
- เครื่องยนต์ก๊าซเทอร์ไบน์ General Electric LM 2500 กำลัง 22,125 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6V 396 TB53 กำลังไฟฟ้า 440 กิโลวัตต์ 4 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบปรับมุมได้ 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ BAE Mk 45 mod 2 ขนาด 127 มม./54 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล MSI-DSL/ATK DS30MR Mk 44 ขนาด 30 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 4 แท่น 
แท่นยิง Mk 41 mod 30 baseline VII VLS สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-อากาศ Raythoen RIM-162B ESSM 1 แท่น 8 ท่อยิง ท่อยิงละ 4 นัด รวม 32 นัด 
แท่นยิง Mk 141 สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น Boeing RGM-84D Harpoon 2 แท่น แท่นละ 4 ท่อยิง 
แท่นยิง Mk 32 mod 5 สำหรับตอร์ปิโด Raytheon Mk 44 mod 1 หรือ Raytheon Mk 46 mod 5A(S) 2 แท่น แท่นละ 3 ท่อยิง 
แท่นยิงเป้าลวง Terma DL-12T 2 แท่น แท่นละ 12 ท่อยิง สำหรับเป้าลวงอาวุธปล่อยนำวิถี 
แท่นยิงเป้าลวง Terma Mk 137 4 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง สำหรับเป้าลวงตอร์ปิโด 
ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ XC-4T 
ลานจอดเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Sikorsky S-70B Seahawk หรือ ฮ. Agusta Westland Super Lynx 300 1 เครื่อง 
โรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Agusta Westland Super Lynx 300 1 เครื่อง 
ระบบชักลาก ฮ. DCNS Samahe (สำหรับ ฮ. Super Lynx เพื่อเคลื่อนย้ายเข้าออกโรงเก็บและรับส่งในสภาพคลื่นลมแรง) 
อิเล็กทรอนิกส์ 
เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ Saab Sea Giraffe AMB 3D 
เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศระยะไกล Thales LW08 
เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง/ชี้เป้า Saab CEROS 200 CWI w/ CEA Technologies SSCWI 2 ชุด 
ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Saab EOS 500 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Saab Bridge Pointer TDS 2 ชุด 
เรดาร์เดินเรือ Kelvin Hughes SharpEye 2 ชุด และ Furuno 
เรดาร์ควบคุมเฮลิคอปเตอร์ Kelvin Hughes SharpEye  
ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ ITT Excelis AN/SLD-4(V) (ES-3601) 
ระบบตรวจจับสัญญาณสื่อสาร Rohde & Schwarz 
โซนาร์หัวเรือ Atlas Elektronik DSQS-24C 
ระบบอำนวยการรบ Saab/Avia Satcom TH-9LV Mk 4 
ระบบควบคุมการยิง (ปืนใหญ่เรือ/ปืนใหญ่กล) Saab 9LV Gun FCS module  
ระบบควบคุมการยิง (อาวุธปล่อยนำวิถี ESSM) Saab 9LV ESSM FCS module
ระบบควบคุมการยิง (อาวุธปล่อยนำวิถี Harpoon) Boeing AN/SWG-1A 
ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Lockheed Martin Mk 309  
ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Terma SKWS (C-Guard) 
ระบบถามสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk XII (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ Sea Giraffe) Selex Communications SIT422 CI 
ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk XII Selex Communications M425 NGIFF 
ระบบแสดงตนอัตโนมัติสำหรับเรือ Saab AIS 
ระบบสื่อสารแบบรวมการ (ICS) Saab TactiCall  
ระบบวิทยุสื่อสาร Rohde & Schwarz M3SR/M3AR w/ SECOS 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Saab Link E และ Link G (TIDLS) 
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Saab Link 11 (TADIL-B) 
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom/Rohde & Schwarz Link RTN 
ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย แบบริงเลเซอร์ Raytheon Anschutz MINS 2 
ระบบอุตุนิยมวิทยา (MET) 
ระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)



ชุด ร.ล.ตาปี (PF-103 class patrol frigate) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

431 ร.ล.ตาปี (19 พฤศจิกายน 2514) 
432 ร.ล.คีรีรัฐ (10 สิงหาคม 2517) 

หมายเหตุ 

เดิม คือ เรือ PF-107 และ PF-108 ของกองทัพเรือสหรัฐฯ 

ผู้สร้าง 

American Shipbuilding ประเทศสหรัฐอเมริกา

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 1,079 ตัน เต็มที่ 1,125 ตัน 
ความยาว 82.5 ม. ความกว้าง 9.9 ม. กินน้ำลึก 4.2 ม. 
ความเร็วสูงสุด 20 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 2,400 ไมล์ ที่ความ เร็วเดินทาง 4,203 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 150 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 16V-149TI กำลัง 1,400 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล Detroit Diesel 12V-71 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Breda/Bofors Type 107 ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk 20 DM6 ขนาด 20 มม./85 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
แท่นยิง Mk 32 mod 5 สำหรับตอร์ปิโด Raytheon Mk 44 mod 1 2 แท่น แท่นละ 3 ท่อยิง 
รางปล่อยระเบิดลึก Mk 9 สำหรับระเบิดลึก Mk 6 2 ราง รางละ 8 ลูก หรือ Mk 9 2 ราง รางละ 10 ลูก 
ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ Ultra Electronics EMS SSM 
แท่นยิงเป้าลวง Sippican Mk 135 2 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Raytheon AN/SPS-53E
เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ Thales LW04 
เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM22 mod 61 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS 
เรดาร์เดินเรือ Koden และ Furuno 
โซนาร์ติดใต้ตัวเรือ Atlas Elektronik DSQS-21C 
ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Elettronica ELT-211 
ระบบอำนวยการรบ Thales SEWACO (FORESEE-TH) 
ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Lockheed Martin Mk 309
ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Sippican Mk 34 RBOC 
ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M



ชุด ร.ล.มกุฎราชกุมาร 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

433 ร.ล.มกุฎราชกุมาร (5 พฤษภาคม 2516)

ผู้สร้าง 

Yarrow Shipbuilding ประเทศสหราชอาณาจักร 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 1,948 ตัน เต็มที่ 2,072 ตัน 
ความยาว 97.6 ม. ความกว้าง 11.0 ม. กินน้ำลึก 8.7 ม. 
ความเร็ว สูงสุด 25 น็อต ความเร็วเดินทาง 18 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,000 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 5,940 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 150 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ระบบ CODAG ประกอบด้วย 
- เครื่องยนต์ดีเซล Man Diesel 12PC2V กำลัง 6,000 แรงม้า 1 เครื่อง 
- เครื่องยนต์ก๊าซเทอร์ไบน์ Twin Spool Axial Flow กำลัง 23,175 แรงม้า 1 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ BAE Mk 8 mod 0 ขนาด 114 มม./55 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนใหญ่กล Breda Twin Compact ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นคู่ 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 4 แท่น 
แท่นยิง PMW49A (STWS-2) สำหรับตอร์ปิโด Raytheon Mk 44 mod 1 หรือ BAE Sting Ray 2 แท่น แท่นละ 3 ท่อยิง 
แท่นยิง Limbo Mk 10 สำหรับระเบิดลึก 1 แท่น 3 ท่อยิง 
รางปล่อยระเบิดลึก Mk 9 สำหรับระเบิดลึก Mk 6 2 ราง รางละ 8 ลูก หรือ Mk 9 2 ราง รางละ 10 ลูก 
ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ Ultra Electronics EMS SSM 
แท่นยิงจรวดส่องสว่าง 2 แท่น 
แท่นยิงเป้าลวง Sippican Mk 135 4 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Thales ZW06 
เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ Thales DA05 
เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM22 mod 61 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS 
เรดาร์เดินเรือ Koden และ Furuno 
โซนาร์ติดใต้ตัวเรือ Atlas Elektronik DSQS-21C 
ระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส์แบบรวมการ Elettronica Newton Lambda (ELT 828 4 ชุด)
ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Elettronica ELT 211 
ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ noise jammer Elettronica ELT 318 2 ชุด  
ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ deception jammer Elettronica ELT 521 2 ชุด 
ระบบอำนวยการรบ Thales SEWACO (FORESEE-TH) 
ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Ultra Electronics ATLAPS
ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Sippican Mk 33 RBOC 
ระบบถามสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ DA05) BAE AN/TPX-54 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Thales Link Y Mk 1



ชุด ร.ล.เจ้าพระยา (Type 053HT Jianghu-III class frigate) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

455 ร.ล.เจ้าพระยา (27 เมษายน 2534) 
456 ร.ล.บางปะกง (20 กรกฎาคม 2534) 

ผู้สร้าง 

China State Shipbuilding Corperation (CSSC) ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 1,800 ตัน เต็มที่ 1,924 ตัน 
ความยาว 103.0 ม. ความกว้าง 11.3 ม. กินน้ำลึก 4.7 ม. 
ความเร็วสูงสุด 30 น็อต ความเร็วเดินทาง 18 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,550 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 3,550 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 211 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V 1163 TB83 กำลัง 8,046 แรงม้า 4 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6V 396 TB53 กำลังไฟฟ้า 440 กิโลวัตต์ 4 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบปรับมุมได้ 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ Type 79 ขนาด 100 มม./56 คาลิเบอร์ แท่นคู่ 2 แท่น 
ปืนใหญ่กล Type 76 ขนาด 37 มม./63 คาลิเบอร์ แท่นคู่ 4 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นแดี่ยว 2 แท่น 
แท่นยิงอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น China Precision Machinery Import and Export C-801 4 แท่น แท่นละ 2 ท่อยิง 
แท่นยิงจรวดปราบเรือดำน้ำ Type 86 (RBU-1200) 2 แท่น แท่นละ 5 ท่อยิง 
ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ XC-4D 
แท่นยิงเป้าลวง 2 แท่น แท่นละ 26 ท่อยิง 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ Type 354 Eye Shield 
เรดาร์ควบคุมการยิง Type 341 Rice Lamp 
เรดาร์ควบคุมการยิง Type 343 Sun Visor 
เรดาร์ควบคุมการยิง Type 352 Square Tie 
เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine BridgeMaster E และ Furuno 
โซนาร์หัวเรือ SJD-5 
ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Type 923-1 Jug Pair 
ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ noise jammer Type 981-2 
ระบบอำนวยการรบ ZKJ-3A 
ระบบควบคุมการยิง (ปืนใหญ่เรือ) ZPJ-2 
ระบบควบคุมการยิง (ปืนใหญ่กล) ZPJ-4 
ระบบควบคุมการยิง (อาวุธปล่อยนำวิถี C-801) ZJ-15T
ระบบควบคุมการยิง (จรวดปราบเรือดำน้ำ) ZST-2D 
ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Type 945G 
ระบบถาม/ตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ Type 354) Type 651 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย แบบริงเลเซอร์ Raytheon Anschutz NIMS 
เครื่องวัดความเร็วเรือ John Lilley & Gillie Chernikeeff Aquaprobe Mk5 Naval



ชุด ร.ล.กระบุรี (Type 053HT-H Jianghu-III class frigate) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

457 ร.ล.กระบุรี (16 มกราคม 2535) 
458 ร.ล.สายบุรี (4 สิงหาคม 2535) 

ผู้สร้าง 

China State Shipbuilding Corperation (CSSC) ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 1,840 ตัน เต็มที่ 1,961 ตัน 
ความยาว 103.0 ม. ความกว้าง 11.3 ม. กินน้ำลึก 4.7 ม. 
ความเร็วสูงสุด 30 น็อต ความเร็วเดินทาง 18 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,550 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 3,550 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 206 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V 1163 TB83 กำลัง 8,046 แรงม้า 4 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6V 396 TB53 กำลังไฟฟ้า 440 กิโลวัตต์ 4 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบปรับมุมได้ 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ NG12-1 (PJ-33A) ขนาด 100 มม./56 คาลิเบอร์ แท่นคู่ 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล NG15-2 (Type 76A) ขนาด 37 มม./63 คาลิเบอร์ แท่นคู่ 4 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นแดี่ยว 2 แท่น 
แท่นยิงอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น China Precision Machinery Import and Export C-802A 4 แท่น แท่นละ 2 ท่อยิง 
แท่นยิงจรวดปราบเรือดำน้ำ Type 86 (RBU-1200) 2 แท่น แท่นละ 5 ท่อยิง 
ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ XC-4D 
ลานจอดเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Agusta Westland Super Lynx 300 1 เครื่อง 
แท่นยิงเป้าลวง 2 แท่น แท่นละ 26 ท่อยิง 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ SR-60A (Type 360) 
เรดาร์ควบคุมการยิง TR-47C (Type 347) 2 ชุด 
เรดาร์ควบคุมการยิง Type 352 Square Tie 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) JPT-46 2 ชุด 
เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine BridgeMaster E และ Furuno 
โซนาร์หัวเรือ SJD-5 
ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ ITT Excelis AN/SLD-4(V) (ES-3601) 
ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ noise jammer Type 981-2 
ระบบอำนวยการรบ Poseidon-3 
ระบบควบคุมการยิง (ปืนใหญ่เรือและปืนใหญ่กล) JRNG-5 และ FCU-17 
ระบบควบคุมการยิง (จรวดปราบเรือดำน้ำ) ZST-2D 
ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Type 945G 
ระบบถาม/ตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X (SIF) (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ SR-60A) Type 60 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom Link RTN 
ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อยแบบริงเลเซอร์ Raytheon Anschutz MINS 
เครื่องวัดความเร็วเรือ John Lilley & Gillie Chernikeeff Aquaprobe Mk5 Naval



ชุด ร.ล.พุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (Knox class frigate) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

461 ร.ล.พุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (30 กรกฎาคม 2537) 
462 ร.ล.พุทธเลิศหล้านภาลัย (27 พฤศจิกายน 2539) 

หมายเหตุ 

เดิม คือ เรือ USS Truett (FF-1095) และ USS Ouellet (FF-1077) ของกองทัพเรือสหรัฐฯ 

ผู้ สร้าง 

Avondale Shipyard ประเทศสหรัฐอเมริกา 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 3,020 ตัน เต็มที่ 4,209 ตัน 
ความยาว 133.5 ม. ความกว้าง 14.3 ม. กินน้ำลึก 7.8 ม. 
ความเร็วสูงสุด 27 น็อต ความ เร็วเดินทาง 12 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 2,612 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 5,850 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 317 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่กังหันไอน้ำ Westinghouse กำลัง 35,000 แรงม้า 1 เครื่อง 
หม้อต้มไอน้ำ Combustion Engineering ความดัน 1200 ปอนด์ต่อ ตร.นิ้ว 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 1 เพลา

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ BAE Mk 42 ขนาด 127 มม./54 คาลิเบอร์ แท่น เดี่ยว 1 แท่น 
ระบบอาวุธปืนป้องกันระยะประชิด Raytheon Mk 15 Phalanx block 1 ขนาด 20 มม./62 คาลิเบอร์ 6 ลำกล้องหมุน 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 4 แท่น 
ระบบยิงอาวุธ Mk 16 ประกอบด้วย แท่นยิง Mk 112 1 แท่น 8 ท่อยิง ระบบบรรจุลูก อวป.ใหม่แบบอัตโนมัติ และคลัง อวป.สำรอง 18 นัด สำหรับ 
- อาวุธปล่อยนำวิถีปราบเรือดำน้ำ Honeywell RUR-5 ASROC สูงสุด 8 ท่อยิง ท่อยิงละ 1 นัด รวม 8 นัด หรือ
- อาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น Boeing RGM-84D Harpoon สูงสุด 4 ท่อยิง (ท่อยิงกราบซ้ายและขวา) ท่อยิงละ 1 นัด รวม 4 นัด (อวป.สำรอง สูงสุด 4 นัด) 
แท่นยิง Mk 32 mod 9 2 แท่น แท่นละ 2 ท่อยิง และคลังตอร์ปิโดสำรอง 24 ลูก สำหรับ    
- ตอร์ปิโด Raytheon Mk 44 mod 1 หรือ  
- ตอร์ปิโด Raytheon Mk 46 mod 5A(S) 
แท่นยิงเป้าลวง Sippican Mk 137 2 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง 
เป้าลวงตอร์ปิโด Argon ST AN/SLQ-25A Nixie 1 ชุด 
ลานจอดและโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Agusta Westland Super Lynx 300 1 เครื่อง 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Raytheon AN/SPS-10F 
เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ Lockheed Martin AN/SPS-40B 
เรดาร์ควบคุมการยิง Western Electric AN/SPG-53A 
เรดาร์เดินเรือ Marconi LN-66  
ระบบโซนาร์แบบรวมการ ITT Excelis AN/SQR-17(A)V2 
โซนาร์หัวเรือ Lockheed Martin AN/SQS-26CX 
โซนาร์ลากท้าย ITT Excelis AN/SQS-35(V) IVDS 
โซนาร์ลากท้าย ITT Excelis AN/SQR-18A(V)1 หรือ AN/SQR-18A(V)2 
ระบบรับสัญญาณโซโนบุย Ultra Electronics AN/ARR-75 
ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Raytheon AN/SLQ-32(V)2 
ระบบอำนวยการรบ ITT Excelis FFISTS I/II (Frigate Integrated Shipboard Tactical System I/II) 
ระบบควบคุมการยิง (ปืนใหญ่เรือ) Western Electric Mk 68 mod 13 
ระบบควบคุมการยิง (อาวุธปล่อยนำวิถี Harpoon) Boeing AN/SWG-1A 
ระบบควบคุมการยิง (อาวุธปล่อยนำวิุถี ASROC และตอร์ปิโด) Lockheed Martin Mk 114 mod 6 
ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Sippican Mk 36 SRBOC 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M 
ระบบโทรศัพท์ใต้น้ำ (ติดตั้งคู่กับโซนาร์ AN/SQS-26 และ AN/SQS-35) ITT Excelis AN/WQC-2 Gertrude  
ระบบช่วยเดินอากาศทางยุทธวิธี (TACAN) NavCom Defense Electronics AN/SRN-15A


เรือคอร์เวต (เรือ คว.)



ชุด ร.ล.รัตนโกสินทร์ (PFMM Mk.16 class corvette) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

441 ร.ล.รัตนโกสินทร์ (26 กันยายน 2529) 
442 ร.ล.สุโขทัย (19 กุมภาพันธ์ 2530) 

ผู้สร้าง 

Tacoma Boat ประเทศสหรัฐอเมริกา 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 867 ตัน เต็มที่ 962 ตัน 
ความยาว 76.7 ม. ความกว้าง 9.6 ม. กินน้ำลึก 4.5 ม. 
ความเร็วสูงสุด 26 น็อต ความเร็วเดินทาง 16 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,200 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 2,700 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 97 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักร ใหญ่ดีเซล MTU 20V 1163 TB83 กำลัง 3,634 แรงม้า 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Rapid ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Breda Twin Compact ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นคู่ 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk 20 DM6 ขนาด 20 มม./85 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
แท่นยิง Mk 141 สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น Boeing RGM-84D Harpoon 2 แท่น แท่นละ 4 ท่อยิง 
แท่นยิง Albatross สำหรับอาวุธปล่อยน้ำวิถีพื้น-สู่-อากาศ Alenia Aspide Mk 1 1 แท่น 8 ท่อยิง 
แท่นยิง Mk 32 mod 5 สำหรับตอร์ปิโด Raytheon Mk 44 mod 1 หรือ BAE Sting Ray 2 แท่น แท่นละ 3 ท่อยิง 
ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ Ultra Electronics EMS SSM 
แท่นยิงเป้าลวง 1 แท่น 10 กล่องยิง สำหรับเป้าลวง Sagem Defense Securite Dagaie

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Thales ZW06 
เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ Thales DA05 
เรดาร์ควบคุมการยิง/ชี้เป้า Thales WM25 mod 41 w/ CWI
เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales LIROD 8 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS 
เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine VisionMaster FT และ Koden 
โซนาร์ติดใต้ตัวเรือ Atlas Elektronik DSQS-21C 
ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ ITT Excelis AN/SLD-4(V) (ES-3601) 
ระบบอำนวยการรบ Thales SEWACO (FORESEE-TH) 
ระบบควบคุมการยิง (อาวุธปล่อยนำวิถี Harpoon) Boeing AN/SWG-1A 
ระบบควบคุมการยิง (อาวุธปล่ิอยนำวิถี Aspide) Alenia Albatros mod 9  
ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Lockheed Martin Mk 309
ระบบถาม/ตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X (SIF) (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ DA05)  
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Thales Link Y Mk 1
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom Link RTN



เรือเร็วโจมตีอาวุธปล่อยนำวิถี (เรือ รจอ.)


ชุด ร.ล.ปราบปรปักษ์ (FPB-45 class FAC-M) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

311 ร.ล.ปราบปรปักษ์ (28 กรกฎาคม 2519) 
312 ร.ล.หาญหักศัตรู (6 พฤศจิกายน 2519) 
313 ร.ล.สู้ไพรินทร์ (5 กุมภาพันธ์ 2520) 

ผู้สร้าง 

Singapore Shipbuilding and Engineering ประเทศสิงคโปร์ 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 232 ตัน เต็มที่ 260 ตัน 
ความยาว 44.9 ม. ความกว้าง 7.0 ม. กินน้ำลึก 2.1 ม. 
ความเร็วสูงสุด 40 น็อต ความเร็วเดินทาง 25 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 900 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 2,000 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 44 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 16V 538 TB90 กำลัง 3,410 แรงม้า 4 เครื่อง 
เพลาใบจักร 4 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ Bofors Mk 1 ขนาด 57 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Breda/Bofors Type 564 ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
แท่นยิงอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น Israel Aerospace Industries Gabriel Mk I 3 แท่น แท่นละ 3 ท่อยิง 1 แท่น แท่นละ 2 ท่อยิง 1 แท่น 
แท่นยิงจรวดส่องสว่าง ขนาด 103 มม. ติดกับป้อมปืนใหญ่เรือ 2 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง 
แท่นยิงเป้าลวง 1 แท่น 10 กล่องยิง สำหรับเป้าลวง Sagem Defense Securite Dagaie 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM28 mod 5 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS 
ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Officine Galileo OR.G7 
เรดาร์เดินเรือ Decca 626 และ Furuno 
ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Argo Systems AR-700 
เครื่องวัดความเร็วเรือ John Lilley & Gillie Chernikeeff Aquaprobe Mk5 Naval 
โครงการปรับปรุง 
ได้มีการถอดอาวุธปล่อยนำวิถี Gabriel ออกแล้ว และปรับเปลี่ยนประเภทเรือเป็นเรือเร็วโจมตีปืน


ชุด ร.ล.ราชฤทธิ์ (BMB-230 class FAC-M) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

321 ร.ล.ราชฤทธิ์ (10 สิงหาคม 2522) 
322 ร.ล.วิทยาคม (12 พฤศจิกายน 2522) 
323 ร.ล.อุดมเดช (21 กุมภาพันธ์ 2523) 

ผู้สร้าง 

Cantiere Navale Breda ประเทศอิตาลี

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 270 ตัน เต็มที่ 300 ตัน 
ความยาว 49.8 ม. ความกว้าง 7.5 ม. กินน้ำลึก 1.7 ม. 
ความเร็วสูงสุด 36 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,000 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 2,000 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 46 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V 538 TB91 กำลัง 3,840 แรงม้า 3 เครื่อง 
เพลาใบจักร 3 เพลา ใบจักร Kamewa แบบปรับมุมได้ 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Breda/Bofors Type 564 ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
แท่นยิงอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น MBDA Exocet MM38 2 แท่น แท่นละ 2 ท่อยิง 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM28 mod 41 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS 
เรดาร์เดินเรือ Koden และ Furuno 
ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Decca RDL-2  
ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย Sperry Marine Mk 29   
เครื่องวัดความเร็วเรือ Consilium Marine SAL-59


เรือเร็วโจมตีปืน (เรือ รจป.)



ชุด ร.ล.ชลบุรี (MV400 class FAC-G) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

331 ร.ล.ชลบุรี (22 กุมภาพันธ์ 2526) 
332 ร.ล.สงขลา (8 กรกฎาคม 2526) 
333 ร.ล.ภูเก็ต (17 ตุลาคม 2526) 

ผู้สร้าง 

Cantiere Navale Breda ประเทศอิตาลี 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 420 ตัน เต็มที่ 450 ตัน 
ความยาว 60.4 ม. ความกว้าง 8.8 ม. กินน้ำลึก 2.0 ม. 
ความเร็วสูงสุด 29 น็อต ความเร็วเดินทาง 18 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,500 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 2,500 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 49 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V 538 TB92 กำลัง 4,265 แรงม้า 3 เครื่อง 
เครื่องขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6V 396 TC52 4 เครื่อง สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า Cummins Generator Technologies กำลังไฟฟ้า 200 กิโลวัตต์ 4 เครื่อง 
เพลาใบจักร 3 เพลา ใบจักร Kamewa แบบปรับมุมได้

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนใหญ่กล Breda Twin Compact ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นคู่ 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
แท่นยิงเป้าลวง Sippican Mk 135 4 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Thales ZW06 
เรดาร์ควบคุมการยิง Thales WM22 mod 61 
เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales LIROD 8 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS 
เรดาร์เดินเรือ Decca 1226 
ระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส์แบบรวมการ Elettronica Newton Alpha (ELT 828 2 ชุด)
ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ Elettronica ELT 211 
ระบบรบกวนสัญญาณเรดาร์ แบบ deception jammer Elettronica ELT 521 
ระบบตรวจจับสัญญาณสื่อสาร Elettronica ELT 128
ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Sippican Mk 33 RBOC 
ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย แบบริงเลเซอร์ Teledyne TSS Mk 31 Orion IRS


เรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง (เรือ ตกก.)



ชุด ร.ล.ปัตตานี 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

511 ร.ล.ปัตตานี (16 ธันวาคม 2548) 
512 ร.ล.นราธิวาส (20 มีนาคม 2549)

หมายเหตุ 

ร.ล.ปัตตานี และ ร.ล.นราธิวาส เป็นส่วนหนึ่งของหมู่เรือปราบปรามโจรสลัด (มปจ.) ที่กองทัพเรือส่งไปปฏิบัติการในพื้นที่อ่าวเอเดน ชายฝั่งประเทศโซมาเลีย และบริเวณใกล้เคียง ระหว่างวันที่ 10 กันยายน 2553 ถึง 27 มกราคม 2554 (ร.ล.ปัตตานี) และ 12 กรกฎาคม 2554 ถึง 28 พฤศจิกายน 2554 (ร.ล.นราธิวาส)

ผู้สร้าง 

China State Shipbuilding Corperation (CSSC) ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 1,440 ตัน 
ความยาว 95.5 ม. ความกว้าง 11.6 ม. กินน้ำลึก 3.0 ม. 
ความเร็วสูงสุด 25 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 3,500 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 84 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel (Ruston) 16RK270 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MAN Diesel D2840 LE301 4 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้ 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Super Rapid ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม./93 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
มีระบบรองรับการติดตั้งแท่นยิง Mk 141 สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น Boeing RGM-84D Harpoon 2 แท่น แท่นละ 4 ท่อยิง 
ลานจอดและโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Agusta Westland Super Lynx 300 1 เครื่อง 
เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 1 ลำ 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ Selex RAN-30X/I 
เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Rhienmetall TMX/EO 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Rhienmetall TDS 
เรดาร์เดินเรือ Raytheon Anschutz NSC-25 SeaScout 3 ชุด และ Koden (เฉพาะ 512) 
ระบบอำนวยการรบ Atlas Elektronik COSYS 100 
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ Atlas Elektronik BM 2000 3 ชุด
ระบบพิสูจน์ฝ่าย (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ RAN-30X/I) Selex Communications 
ระบบสื่อสารแบบรวมการ (ICS) Rohde & Schwarz 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม M-VSAT 
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom Link RTN 
ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (IBS) Raytheon Anschutz NSC-series





ชุด ร.ล.กระบี่ (modified Port of Spain class OPV) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

551 ร.ล.กระบี่ (26 สิงหาคม 2556)
552 ร.ล.

ผู้สร้าง

กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย/Bangkok Dock ประเทศไทย/BAE Systems Surface Ships ประเทศอังกฤษ 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 1,969 ตัน 
ความยาว 90.5 ม. ความกว้าง 13.5 ม. กินน้ำลึก 3.8 ม. 
ความเร็วสูงสุด 23 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 3,500 ไมล์ 
ความคงทนทะเลระดับ sea state 5 
กำลังพลประจำเรือ 55 นาย (รองรับกำลังพลเพิ่มเติมได้อีก 34 นาย)

เครื่องจักร

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel 16V 23/33D กำลัง 7,200 กิโลวัตต์ 2 เครื่อง 
ชุดเกียร์ ZF Marine 53600 NR2H 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบปรับมุมได้ 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Super Rapid ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล MSI-DSL/ATK DS30MR Mk.44 ขนาด 30 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ลานจอดเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Agusta Westland Super Lynx 300 1 เครื่อง 
เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 1 ลำ 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ Thales Variant 
เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales LIROD Mk 2 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS 
เรดาร์เดินเรือ 2 ชุด 
ระบบอำนวยการรบ Thales TACTICOS 
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ Thales MOC Mk 3
ระบบถาม/ตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk XII (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ Variant) Thales TSB2525 
ระบบสื่อสารแบบรวมการ (ICS) Thales FICS พร้อมระบบเครือข่าย Thales FOCON IP C 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M 
ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (IBS)
ระบบควบคุมระบบเรือแบบรวมการ (IPMS) Servowatch


เรือตรวจการณ์ปราบเรือดำน้ำ (เรือ ตกด.)




ชุด ร.ล.คำรณสินธุ (modified Province class PC) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ

531 ร.ล.คำรณสินธุ (29 กรกฎาคม 2535) 
532 ร.ล.ทะยานชล (5 กันยายน 2535) 
533 ร.ล.ล่องลม (2 ตุลาคม 2535)

ผู้สร้าง 

Italthai Marine ประเทศไทย (531 และ 532) 
กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย (533) 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 475 ตัน เต็มที่ 550 ตัน 
ความยาว 62.0 ม. ความกว้าง 8.2 ม. กินน้ำลึก 3.2 ม. 
ความเร็วสูงสุด 25 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,030 ไมล์ ที่ความเร็ว เดินทาง 2,850 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 58 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 1163 TB93 กำลัง 4,130 แรงม้า 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้ 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Breda/Rheinmetall Mauser Mk 30 mod F ขนาด 30 มม./82 คาลิเบอร์ แท่นคู่ 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่น เดี่ยว 4 แท่น 
แท่นยิง PMW49A (STWS-2) สำหรับตอร์ปิโด Raytheon Mk 44 mod 1 หรือ BAE Sting Ray 2 แท่น แท่นละ 3 ท่อยิง 
รางปล่อยระเบิดลึก Mk 9 สำหรับระเบิดลึก Mk 6 2 ราง รางละ 8 ลูก หรือ Mk 9 2 ราง รางละ 10 ลูก 
รางปล่อยทุ่นระเบิด 1 ราง สำหรับทุ่นระเบิด Mk 6 หรือ Mk 18

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ BAE AWS-4 
ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales Mirador 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS 
เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine VisionMaster FT 2 ชุด 
โซนาร์ Atlas Elektronik DSQS-21C 
ระบบอำนวยการรบ Thales TACTICOS 
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ Thales MOC Mk 3 2 ชุด  
ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Ultra Electronics ATLAPS
ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X (SIF) Bendix AN/APX-72 
ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย แบบริงเลเซอร์ Teledyne TSS Mk 31 Orion IRS 
ระบบหาตำบลที่เรือด้วยดาวเทียม JRC JRC-224 DGPS 
เครื่องวัดความเร็วเรือ Sperry Marine NaviKnot 350 
ระบบอุตุนิยมวิทยา R. M. Young


เรือตรวจการณ์ปืน (เรือ ตกป.)





ชุด ร.ล.สัตหีบ (PSMM Mk.5 class PG) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

521 ร.ล.สัตหีบ (16 กันยายน 2526) 
522 ร.ล.คลองใหญ่ (10 เมษายน 2527) 
523 ร.ล.ตากใบ (17 กรกฎาคม 2528) 
524 ร.ล.กันตัง (2 ธันวาคม 2528) 
525 ร.ล.เทพา (4 พฤศจิกายน 2528) 
526 ร.ล.ท้ายเหมือง (20 กุมภาพันธ์ 2529) 

ผู้สร้าง 

Italthai Marine ประเทศไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 265 ตัน เต็มที่ 300 ตัน 
ความยาว 50.3 ม. ความกว้าง 7.3 ม. กินน้ำลึก 1.8 ม. 
ความเร็วสูงสุด 22 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต 
ระยะปฏิบัติ การที่ความเร็วสูงสุด 1,400 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 2,500 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 56 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 16V 568 TB91 กำลัง 3,410 แรงม้า 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้ 

อาวุธ 

521 ถึง 523 
ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Breda/Bofors Type 564 ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
524 ถึง 526 
ปืนใหญ่เรือ Mk 22 mod 0 ขนาด 76 มม./50 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม./60 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

521 ถึง 523 
เรดาร์เดินเรือ Furuno 2 ชุด 
ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales Mirador 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS 
ระบบอำนวยการรบ Thales TACTICOS 
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ Thales MOC Mk 3
524 ถึง 526 
เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Decca และ Furuno





ชุด ร.ล.หัวหิน 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

541 ร.ล.หัวหิน (17 กรกฎาคม 2544) 
542 ร.ล.แกลง (17 กรกฎาคม 2544) 
543 ร.ล.ศรีราชา (24 กันยายน 2544) 

ผู้สร้าง 

Asian Marine Services ประเทศไทย (541 และ 542) 
กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย (543) 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 530 ตัน เต็มที่ 590 ตัน 
ความยาว 62.0 ม. ความกว้าง 8.9 ม. กินน้ำลึก 2.5 ม. 
ความเร็วสูงสุด 25 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 2,500 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 45 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel (Paxman) 12VP185 กำลัง 1,166 แรงม้า 3 เครื่อง 
เพลาใบจักร 3 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้ 1 ชุด และแบบมุมตายตัว 2 ชุด 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ Mk 22 mod 0 ขนาด 76 มม./50 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม./60 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
อิเล็กทรอนิกส์ 
เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine 2 ชุด


เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง (เรือ ตกฝ.)




ชุด ต.11 (PGM-71 class) 

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ต.11 (1 กุมภาพันธ์ 2509) 
ต.12 (4 ตุลาคม 2509) 
ต.13 (8 มีนาคม 2511) 
ต.14 (16 ตุลาคม 2512) 
ต.15 (16 ตุลาคม 2512) 
ต.16 (12 กุมภาพันธ์ 2513) 
ต.17 (12 กุมภาพันธ์ 2513) 
ต.18 (12 กุมภาพันธ์ 2513) 
ต.19 (14 พฤษภาคม 2514) 
ต.110 (14 พฤษภาคม 2514) 

หมายเหตุ 

ทร. มีแผนปลดประจำการเรือชุด ต.11 จำนวน 6 ลำ คือ ต.11 ต.12 ต.13 ต.14 ต.19 และ ต.110 ระหว่างปี 2552-2556 โดย ทร. ได้จัดหาเรือชุด ต.991 (3 ลำ) และ ต.994 (3 ลำ) ทดแทน 
ได้รับมอบตามข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐอเมริกา 
เรือ ต.12 เคยเข้าร่วมปฏิบัติการรบในสงครามเวียดนาม 

ผู้สร้าง 

Peterson Builders ประเทศสหรัฐอเมริกา 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 130 ตัน เต็มที่ 146 ตัน 
ความยาว 30.3 ม. ความกว้าง 6.4 ม. กินน้ำลึก 1.7 ม. 
ความเร็วสูงสุด 18 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 914 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 1,411 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 30 นาย 

เครื่องจักร

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 6-71 กำลัง 1,020 แรงม้า 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม./60 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น (ต.11 และ ต.13 - ต.110) 
ปืนใหญ่กล Oerlikon Mk 10 ขนาด 20 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น (ต.12) 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
เครื่องยิงลูกระเบิด Mk 81 mod 2 ขนาด 81 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 


เรดาร์เดินเรือ Furuno (ต.11 - ต.14, ต.16 - ต.18 และ ต.110) หรือ Anritsu (ต.15) หรือ Koden (ต.19)


ชุด ต.81 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ต.81 (4 สิงหาคม 2542) 
ต.82 (9 ธันวาคม 2542) 
ต.83 (27 ตุลาคม 2543) 

ผู้สร้าง 

Silkline International - Australian Submarine Corperation (ASC) Joint Venture ประเทศไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 95 ตัน เต็มที่ 110 ตัน 
ความยาว 30.1 ม. ความกว้าง 6.1 ม. กินน้ำลึก 1.8 ม. 
ความเร็วสูงสุด 25 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 1,300 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 28 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 16V 2000 TE90 กำลัง 900 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6R 099 TE51 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล ฺBofors M3 ขนาด 40 มม./60 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Anritsu



ชุด ต.91
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ต.91 (12 สิงหาคม 2511) 
ต.92 (21 ธันวาคม 2519) 
ต.93 (10 สิงหาคม 2522) 
ต.94 (16 กันยายน 2524) 
ต.95 (27 ธันวาคม 2525) 
ต.96 (27 ธันวาคม 2525) 
ต.97 (16 กันยายน 2526) 
ต.98 (7 มีนาคม 2528) 
ต.99 (9 มกราคม 2531) 

ผู้สร้าง 

กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย 

คุณลักษณะ 

ต.91 
ระวางขับน้ำปกติ 115 ตัน เต็มที่ 124 ตัน 
ความยาว 31.8 ม. ความกว้าง 5.4 ม. กินน้ำลึก 1.7 ม. 
ความเร็วสูงสุด 22 น็อต ความเร็วเดินทาง 19 น็อต 
รัศมีทำการที่ความเร็วเดินทาง 973 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 28 นาย 
ต.92 และ ต.93 
ระวางขับน้ำปกติ 117 ตัน เต็มที่ 126 ตัน 
ความยาว 34.0 ม. ความกว้าง 5.7 ม. กินน้ำลึก 1.5 ม. 
ความเร็วสูงสุด 27 น็อต ความ เร็วเดินทาง 22 น็อต (ต.92) และความเร็วสูงสุด 26 น็อต ความเร็วเดินทาง 21 น็อต (ต.93) 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 973 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 28 นาย 
ต.94 ถึง ต.98 
ระวางขับน้ำปกติ 125 ตัน เต็มที่ 134 ตัน 
ความยาว 34.0 ม. ความกว้าง 5.7 ม. กินน้ำลึก 1.6 ม. 
ความเร็วสูงสุด 27 น็อต ความเร็วเดินทาง 21 น็อต (ต.94 - ต.97) และความเร็วสูงสุด 28 น็อต ความเร็วเดินทาง 21 น็อต (ต.98) 
รัศมีทำการที่ความเร็วเดินทาง 973 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 28 นาย 
ต.99 
ระวางขับน้ำปกติ 126 ตัน เต็มที่ 130 ตัน 
ความยาว 34.0 ม. ความกว้าง 5.7 ม. กินน้ำลึก 1.6 ม. 
ความเร็วสูงสุด 25 น็อต ความเร็วเดินทาง 21 น็อต 
รัศมีทำการที่ความเร็วเดินทาง 973 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 31 นาย

เครื่องจักร

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 538 TB80-82 กำลัง 1,650 (ต.91 - ต.93) หรือ 1,870 (ต.94 - ต.97) หรือ 2,044 (ต.98) หรือ 2,215 (ต.99) แรงม้า 2 เครื่อง 

อาวุธ 

ต.91 
ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม./60 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ต.92 ถึง ต.98 
ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม./60 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ต.99 
ปืนใหญ่กล Breda/Bofors Type 564 ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่น เดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
อิเล็กทรอนิกส์ 
เรดาร์เดินเรือ Decca 
ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง BAE Sea Archer Mk 1A (เฉพาะ ต.99)



ชุด ต.991 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ต.991 (27 พฤศจิกายน 2550) 
ต.992 (2550) 
ต.993 (2550) 

ผู้สร้าง 

กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย (ต.991) 
Marsun ประเทศไทย (ต.992 และ ต.993) 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 170 ตัน เต็มที่ 205 ตัน 
ความยาว 38.7 ม. ความกว้าง 6.5 ม. กินน้ำลึก 1.9 ม. 
ความเร็วสูงสุด 29 น็อต ความเร็วเดินทาง 20 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 1,500 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 29 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 16V 4000 M90 กำลัง 3,650 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU กำลังไฟฟ้า 140 กิโลวัตต์ 2 เครื่อง 
ชุดเกียร์ ZF Marine 7550 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบมุมตายตัว

อาวุธ 

ปืนใหญ่ กล MSI-DSL/ATK DS30MR Mk 44 ขนาด 30 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine BridgeMaster E และ Furuno 
ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales Mirador 
ระบบอำนวยการรบ Thales TACTICOS 
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ Thales MOC Mk 3 
ระบบวิทยุสื่อสาร Hagenuk Marinekommunikation
เครื่องวัดความเร็วเรือ John Lilley & Gillie Chernikeeff Aquaprobe Mk5 Naval 
เครื่องหยั่งน้ำ Koden CVS-833



ชุด ต.994
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ต.994 (26 กันยายน 2554)
ต.995 (26 กันยายน 2554)
ต.996 (26 กันยายน 2554)

ผู้สร้าง

กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย (ต.994) 
Marsun ประเทศไทย (ต.995 และ ต.996) 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 223 ตัน 
ความยาว 41.5 ม. ความกว้าง 7.2 ม. กินน้ำลึก 1.9 ม. 
ความเร็วสูงสุด 29 น็อต ความเร็วเดินทาง 20 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็ว 20 น็อต 1,500 ไมล์ ที่ความเร็ว 12 น็อต 2,055 ไมล์ 
ความคงทนทะเลระดับ sea state 3 
กำลังพลประจำเรือ 31 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 16V 4000 M90 กำลัง 3,650 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU กำลังไฟฟ้า 140 กิโลวัตต์ 2 เครื่อง 
ชุดเกียร์ ZF Marine 7550 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบมุมตายตัว

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล MSI-DSL/ATK DS30MR Mk 44 ขนาด 30 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล OTO Melara/U.S. Ordnance Hitrole NT-M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
มีระบบรองรับการติดตั้งแท่นยิงอาวุธปล่อยพื้น-สู่-พื้น China Precision Machinery Import and Export C-704 2 แท่น แท่นละ 2 ท่อยิง

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine BridgeMaster E และ Furuno 
ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales Mirador 
ระบบอำนวยการรบ Thales TACTICOS 
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ Thales MOC Mk 3
เครื่องวัดความเร็วเรือ John Lilley & Gillie Chernikeeff Aquaprobe Mk5 Naval


เรือตรวจการณ์ชายฝั่ง (เรือ ตกช.)


ชุด ต.21 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ต.21 (19 ธันวาคม 2511) 
ต.22 (19 ธันวาคม 2511) 
ต.23 (24 พฤศจิกายน 2513) 
ต.24 (24 พฤศจิกายน 2513) 
ต.25 (24 พฤศจิกายน 2513) 
ต.26 (24 พฤศจิกายน 2513) 
ต.27 (24 พฤศจิกายน 2513) 
ต.28 (24 พฤศจิกายน 2519) 
ต.29 (24 พฤศจิกายน 2519) 
ต.210 (24 พฤศจิกายน 2519) 
ต.211 (24 พฤศจิกายน 2519) 
ต.212 (24 พฤศจิกายน 2519) 

ผู้สร้าง 

Swiftships ประเทศสหรัฐอเมริกา 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 20 ตัน เต็มที่ 22 ตัน 
ความยาว 15.5 ม. ความกว้าง 3.3 ม. กินน้ำลึก 1.1 ม. 
ความเร็วสูงสุด 24 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 230 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 300 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 8 นาย 

เครื่อง จักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล 2 เครื่อง 

อาวุธ 

ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นคู่ 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น (ต.23 - ต.212) 
เครื่องยิงลูกระเบิด Mk 81 mod 2 ขนาด 81 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Anritsu (ต.21 - ต.23) หรือ Furuno (ต.24 - ต.211) หรือ Koden (ต.212)



ชุด ต.213
ไม่มีรูป 

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ต.213 (29 สิงหาคม 2523) 
ต.214 (29 สิงหาคม 2523) 
ต.215 (29 สิงหาคม 2523) 
ต.216 (26 มีนาคม 2524) 
ต.217 (26 มีนาคม 2524) 
ต.218 (26 มีนาคม 2524) 
ต.219 (16 กันยายน 2524) 
ต.220 (16 กันยายน 2524) 
ต.221 (16 กันยายน 2524) 
ต.222 (16 กันยายน 2524) 
ต.223 (16 กันยายน 2524) 
ต.224 (19 พฤศจิกายน 2525) 
ต.225 (28 มีนาคม 2527) 
ต.226 (28 มีนาคม 2527) 

หมายเหตุ 

เรือ ต.215 เสียหายอย่างหนักจากเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิเคลื่อน เข้าถล่มจังหวัดชายฝั่งอันดามันของประเทศไทย เมื่อ 26 ธันวาคม 2547 ขณะปฏิบัติภารกิจในหมู่เรือถวายความปลอดภัยทางน้ำ บริเวณหน้าโรงแรมโรงแรมลาฟลอรา จังหวัดพังงา ห่างจากฝั่งประมาณ 1,500 หลา โดยกำลังพลประจำเรือจมน้ำเสียชีวิต 1 นาย คือ จ่าเอกเผด็จชัย พูลสุภาพ หลังจากการกู้ซากเรือโดยกำลังพลจากกองเรือทุ่นระเบิด กองเรือยุทธการ นักประดาน้ำจากกรมสรรพาวุธทหารเรือ และนักทำลายใต้น้ำจู่โจมของหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองทัพเรือได้พิจารณาแล้วพบว่าไม่สามารถซ่อมแซมให้กลับมาใช้งานใหม่ได้อีก จึงตัดสินใจปลดระวางประจำการเรือ ต.215 ลงในที่สุด 

ผู้สร้าง 

Italthai Marine ประเทศไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 31 ตัน เต็มที่ 35 ตัน 
ความยาว 19.6 ม. ความกว้าง 5.3 ม. กินน้ำลึก 1.6 ม. 
ความเร็วสูงสุด 26 น็อต ความเร็วเดินทาง 18 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 350 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 594 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 9 นาย

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 6V 396 TC82 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Anritsu หรือ Furuno



ชุด ต.227 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ

ต.227 (2550) 

ผู้สร้าง 

Marsun ประเทศไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 43 ตัน 
ความยาว 21.3 ม. ความกว้าง 5.6 ม. 
ความเร็วสูงสุด 25 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 350 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 9 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 


เรดาร์เดินเรือ Furuno




ชุด ต.228 (Marsun M21 class PCF) 

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ต.228 (16 พฤษภาคม 2556)
ต.229 (16 พฤษภาคม 2556)
ต.230 (16 พฤษภาคม 2556)

ผู้สร้าง

Marsun ประเทศไทย

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 43 ตัน 
ความยาว 21.4 ม. ความกว้าง 5.6 ม. กินน้ำลึก 1.1 ม. 
ความเร็วสูงสุด 30 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 350 ไมล์ 
ความคงทนทะเลระดับ sea state 2 
กำลังพลประจำเรือ 9 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม./93 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด 81 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น (ติดตั้งคู่กับปืนกล M2HB) 
เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 1 ลำ

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Furuno





ชุด ต.231 (Hysucat 18 class PBH)

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ต.231 (11 กุมภาพันธ์ 2531)

ผู้ สร้าง 

Technautic Intertrading ประเทศไทย

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 34 ตัน เต็มที่ 37 ตัน 
ความยาว 8.3 ม. ความกว้าง 6.6 ม. กินน้ำลึก 1.6 ม. 
ความเร็วสูงสุด 38 น็อต 
ระยะปฏิบัติ การที่ความเร็วสูงสุด 600 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 9 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel TBD234 V12 กำลัง 820 แรงม้า 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Anritsu





ชุด ต.241 (Seafox Mk.IV class Special Warfare Craft Light) 

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ต.241 
ต.242 
ต.243 

ผู้สร้าง 

ประเทศสหรัฐอเมริกา 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 10 ตัน เต็มที่ 12 ตัน 
ความยาว 10.8 ม. ความกว้าง 3.0 ม. กินน้ำลึก 0.8 ม. 
ความเร็วสูงสุด 32 น็อต 
กำลังพลประจำเรือ 3 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 183 TA91 กำลัง 450 แรงม้า 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 4 แท่น




เรือเร็วตรวจการณ์ลำน้ำ (เรือ รตล.)





ชุด ล.11 (Mk.II class PBR) 

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ล.11 - ล.145 (9 กุมภาพันธ์ 2514) 

หมาย เหตุ 

ปัจจุบันเรือชุดนี้ได้ปลดระวางประจำการไปแล้ว 8 ลำ คือ ล.14 ล.117 ล.119 ล.120 ล.130 ล.133 ล.134 และ ล.140 
ได้รับมอบตามข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐอเมริกาจำนวนหนึ่ง 
เรือ ล.123 เคยเข้าร่วมปฏิบัติการรบที่ดอนแตง 

ผู้สร้าง 

United Boat Builder ประเทศสหรัฐอเมริกา 
กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำ 8 ตัน 
ความยาว 9.3 ม. ความกว้าง 3.6 ม. กินน้ำ ลึกที่หัวเรือ 0.5 ม. ที่ท้ายเรือ 0.6 ม. 
ความเร็วสูงสุด 25 น็อต ความเร็วเดินทาง 20 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 150 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 250 ไมล์ 
ตัวเรือสร้างด้วยไฟเบอร์กลาส 
กำลังพลประจำเรือ 5 นาย 

เครื่อง จักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 6V-53 กำลัง 220 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องขับดันและบังคับทิศทางแบบพ่นน้ำ Jacuzzi 14YJ 2 เครื่อง
ความจุถังเชื้อเพลิง 720 ลิตร อัตราสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงที่ความ เร็วสูงสุด 100 ลิตร/ชม. ที่ความเร็วเดินทาง 60 ลิตร/ชม. 

อาวุธ 

ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นคู่ 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M60 ขนาด 7.62 มม. แท่น 
เครื่องยิงลูกระเบิด Mk 4 mod 0 ขนาด 60 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
เครื่องยิงลูกระเบิด Mk 20 mod 0 ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
อาวุธประจำกายของกำลังพลประจำเรือ 
- ปืนพกอัตโนมัติ Colt M1911A1 ขนาด 11 มม. 
- ปืนเล็กยาว Colt M16A1 ขนาด 5.56 มม. 
- เครื่องยิงลูกระเบิดจากปืนเล็กยาว Colt M203 ขนาด 40 มม.

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Raytheon 1900N หรือ 2900N หรือ 3100 Mk.II หรือ Anritsu RA-771UA หรือ Koden RA-776C 
กล้องศูนย์เล็งกลางคืน Optic Electronic Corporation AN/TVS-5 สำหรับปืนกล M2HB 
กล้องศูนย์เล็งกลางคืน Optic Electronic Corporation AN/PVS-4 สำหรับปืนกล M60 หรือปืนเล็กยาว M16 

วิทยุสื่อสาร แบบติดตั้งประจำที่ AN/VRC-46 2 ชุด

เรือยนต์ตรวจการณ์ลำน้ำ (เรือ ยตล.)



ชุด ล.21 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ล.21 - ล.26 (19 ธันวาคม 2511) 

หมายเหตุ 

ได้รับมอบตามข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐอเมริกา 

ผู้สร้าง 

Birchfield Shipbuilding and Boiler ประเทศสหรัฐอเมริกา 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 10 ตัน เต็มที่ 13 ตัน 
ความยาว 11.5 ม. ความกว้าง 3.1 ม. กินน้ำลึกที่หัวเรือ 1.3 ม. ที่ท้ายเรือ 1.9 ม. 
ความเร็วสูงสุด 12 น็อต ความเร็วเดินทาง 8 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 200 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 275 ไมล์ 
ตัวเรือสร้างด้วยเหล็ก 
กำลังพลประจำ เรือ 6 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 6-71 กำลัง 225 แรงม้า 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 
ความจุถังเชื้อเพลิง 1,600 ลิตร อัตราสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงที่ความเร็วสูงสุด 100 ลิตร/ชม. ที่ความเร็วเดินทาง 60 ลิตร/ชม. 

อาวุธ 

ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นคู่ 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M60 ขนาด 7.62 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
อาวุธประจำกายของกำลังพลประจำเรือ 
- ปืนพกอัตโนมัติ Colt M1911A1 ขนาด 11 มม. 
- ปืนเล็กยาว Colt M16A1 ขนาด 5.56 มม. 
- เครื่องยิงลูกระเบิดจากปืนเล็กยาว Colt M203 ขนาด 40 มม. 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Decca 46 
วิทยุสื่อสาร แบบติดตั้งประจำที่ AN/VRC-46


เรือจู่โจมลำน้ำ (เครื่องติดท้าย) (เรือ จลต.)



ชุด ล.31 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ล.31 - ล.3129 
ล.3133 - ล.3135 

ผู้สร้าง 

กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 0.4 ตัน 
ความยาว 4.9 ม. ความกว้าง 1.9 ม. 
ความเร็วสูงสุด 24 น็อต 
กำลังพลประจำเรือ 4 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องยนต์ดีเซลติดท้าย Mercury กำลัง 50, 90 หรือ 115 แรงม้า 1 เครื่อง 

อาวุธ 

ปืนกล U.S. Ordnance M60 ขนาด 7.62 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
อาวุธประจำกายของกำลังพลประจำเรือ 
- ปืนพกอัตโนมัติ Colt M1911A1 ขนาด 11 มม. 
- ปืนเล็กยาว Colt M16A1 ขนาด 5.56 มม. 

อิเล็กทรอนิกส์ 

วิทยุสื่อสาร แบบมือถือ AN/PRC-77


เรือจู่โจมลำน้ำ (แบบพ่นน้ำ) (เรือ จลพ.)



ชุด ล.3130 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ล.3130 - ล.3132 

ผู้สร้าง 

กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 0.4 ตัน 
ความยาว 4.9 ม. ความกว้าง 1.9 ม. 
ความเร็วสูงสุด 24 น็อต 
กำลังพลประจำเรือ 4 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องยนต์ดีเซลติดท้าย แบบพ่นน้ำ 1 เครื่อง 

อาวุธ 

ปืนกล U.S. Ordnance M60 ขนาด 7.62 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
อาวุธประจำกายของกำลังพลประจำเรือ 
- ปืนพกอัตโนมัติ Colt M1911A1 ขนาด 11 มม. 
- ปืนเล็กยาว Colt M16A1 ขนาด 5.56 มม. 

อิเล็กทรอนิกส์ 


วิทยุสื่อสาร แบบมือถือ AN/PRC-77

เรือที่อยู่ระหว่างการสร้าง/สั่งซื้อ


โครงการ เรือ ฟก. สมรรถนะสูง (modified Gwanggaeto the Great/KDX-I class DD) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

471 ร.ล. (2561) 
472 ร.ล. (2563

ผู้สร้าง 

Daewoo Shipbuilding & Marine Engineering ประเทศเกาหลีใต้

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 3,700 ตัน 
ความยาว 123.0 ม. ความกว้าง 14.4 ม. กินน้ำลึก 8 ม.  
ความเร็วสูงสุด 30 น็อต ความเร็วเดินทาง 18 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 4,000 ไมล์ 
ความคงทนทะเล ระดับ sea state 8 
กำลังพลประจำเรือ 136 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ระบบ CODAG ประกอบด้วย 
- เครื่องยนต์ดีเซล MTU 2 เครื่อง 
- เครื่องยนต์ก๊าซเทอร์ไบน์ General Electric LM 2500 1 เครื่อง 
เครื่องขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 4 เครื่อง  
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า Cummins Generator Technologies 4 เครื่อง  
ชุดเกียร์ ZF Marine 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบปรับมุมได้ 

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Super Rapid ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล MSI-DSL/ATK DS30MR Mk 44 ขนาด 30 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น  
ระบบอาวุธปืนป้องกันระยะประชิด Raytheon Mk 15 Phalanx block 1B ขนาด 20 มม./99 คาลิเบอร์ 6 ลำกล้องหมุน 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
แท่นยิง Mk 41 VLS 1 แท่น 8 ท่อยิง สำหรับ 
- อาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-อากาศ Raythoen RIM-162B ESSM ท่อยิงละ 4 นัด รวม 32 นัด หรือ
- อาวุธปล่อยนำวิถีปราบเรือดำน้ำ Lockheed Martin RUM-139C VL-ASROC ท่อยิงละ 1 นัด รวม 8 นัด หรือ 
- เป้าลวงอาวุธปล่อยนำวิถี Lockheed Martin Mk 234 Nulka ท่อยิงละ 4 นัด รวม 32 นัด หรือผสมกัน
แท่นยิง Mk 141 สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น Boeing RGM-84D Harpoon 2 แท่น แท่นละ 4 ท่อยิง 
แท่นยิง J+S DMTLS สำหรับตอร์ปิโด Raytheon Mk 44 mod 1 หรือ Raytheon Mk 46 mod 5A(S) หรือ BAE Sting Ray 2 แท่น แท่นละ 3 ท่อยิง 
แท่นยิงเป้าลวง Terma DL-12T 2 แท่น แท่นละ 12 ท่อยิง สำหรับเป้าลวงอาวุธปล่อยนำวิถี 
แท่นยิงเป้าลวง Terma Mk 137 4 แท่น แท่นละ 6 ท่อยิง สำหรับเป้าลวงตอร์ปิโด 
ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ Ultra Electronics EMS 
ลานจอดเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Sikorsky S-70B Seahawk 1 เครื่อง 
โรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Sikorsky S-70B Seahawk 1 เครื่อง 
ระบบชักลาก ฮ. DCNS Samahe (สำหรับ ฮ. S-70B เพื่อเคลื่อนย้ายเข้าออกโรงเก็บและรับส่งในสภาพคลื่นลมแรง)  
เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 2 ลำ 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ Saab Sea Giraffe AMB 3D 
เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศระยะไกล Indra LANZA-N MRR 
เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง/ชี้เป้า Saab CEROS 200 CWI w/ CEA Technologies SSCWI 2 ชุด 
ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Saab EOS 500 
ระบบออปโทรนิกส์ตรวจการณ์ Elbit Systems Electro-Optics DCoMPASS 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Saab Bridge Pointer TDS 2 ชุด 
เรดาร์เดินเรือ Kelvin Hughes SharpEye 2 ชุด  
เรดาร์ควบคุมเฮลิคอปเตอร์ Kelvin Hughes SharpEye  
ระบบตรวจจับสัญญาณเรดาร์ ITT Excelis AN/SLD-4(V) (ES-3601) 
ระบบตรวจจับสัญญาณสื่อสาร Rohde & Schwarz ESMD 
ระบบโซนาร์แบบรวมการ (ISS) Atlas Elektronik ISS 2000-A 
โซนาร์ติดใต้ตัวเรือ Atlas Elektronik DSQS-24C (ASO 94) 
โซนาร์ลากท้าย Atlas Elektronik ACTAS (ASA 92)
ระบบอำนวยการรบ Saab/Avia Satcom TH-9LV Mk 4 
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ Saab MFC 2000 series 15 ชุด 
ระบบควบคุมการยิง (ปืนใหญ่เรือ/ปืนใหญ่กล) Saab 9LV Gun FCS module  
ระบบควบคุมการยิง (อาวุธปล่อยนำวิถี ESSM) Saab 9LV ESSM FCS module
ระบบควบคุมการยิง (อาวุธปล่อยนำวิถี Harpoon) Boeing AN/SWG-1A 
ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) J+S Deck Mounted Torpedo Launching System
ระบบควบคุมการยิงเป้าลวง Terma SKWS (C-Guard)  
ระบบควบคุมการปฏิบัติการทางอากาศ Saab StriC ACCS 
ระบบถามสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk XII (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ Sea Giraffe) Selex Communications SIT422 CI 
ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk XII Selex Communications M425 NGIFF FF 
ระบบถาม/ตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk XII (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ LANZA-N) Indra CIT-25D   
ระบบแสดงตนอัตโนมัติสำหรับอากาศยาน Saab ADS-B
ระบบแสดงตนอัตโนมัติสำหรับเรือ Saab AIS
ระบบช่วยเดินอากาศทางยุทธวิธี (TACAN) NavCom Defense Electronics AN/URN-25 
ระบบสื่อสารแบบรวมการ (ICS) Saab TactiCall  
ระบบวิทยุสื่อสาร Rohde & Schwarz M3SR/M3AR w/ SECOS 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม M-VSAT 
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Saab Link E และ Link G (TIDLS) 
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Saab Link 11 (TADIL-B) 
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom/Rohde & Schwarz Link RTN 
ระบบโทรศัพท์ใต้น้ำ Atlas Elektronik 
ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (IBS) Kelvin Hughes Naval MantaDigital 
ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย แบบริงเลเซอร์ Raytheon Anschutz MINS 2
ระบบควบคุมระบบเรือแบบรวมการ (IPMS)


โครงการ เรือ รตล. ชุดใหม่ (Marsun M10 class PBR) 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ล.61 
ล.62 
ล.63 

ผู้ สร้าง

Marsun ประเทศไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 10 ตัน 
ความยาว 12.2 ม. ความกว้าง 3.5 ม. กินน้ำลึก 0.7 ม. 
ความเร็วสูงสุด 40 น็อต ความเร็วสูงสุดต่อเนื่อง 35 น็อต ความเร็วเดินทาง 25 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 250 ไมล์ 
ความคงทนทะเลระดับ sea state 2 
ตัวเรือสร้างด้วยอลูมิเนียมอัลลอย 
กำลังพลประจำเรือ 5 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล 2 เครื่อง 
เครื่องขับดันแบบพ่นน้ำ 2 เครื่อง 
ความจุถังเชื้อเพลิง 720 ลิตร

อาวุธ 

ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น (ท้ายเรือ) 
ปืนกล U.S. Ordnance M60 ขนาด 7.62 มม. แท่นเดี่ยว 4 แท่น (หัวเรือและกลางลำ) 
รองรับการติดตั้งเครื่องยิงลูกระเบิดกล ขนาด 40 มม. แท่นเดี่ยว 1 แท่น (แทนที่ปืนกล M2HB) 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ ที่มีระบบ ARPA 
ระบบหาตำบลที่เรือด้วยดาวเทียม GPS พร้อมแผนที่ดิจิตอล แบบติดตั้งประจำที่ 1 ชุด และแบบมือถือ 2 ชุด 
วิทยุสื่อสาร VHF/FM ที่มีระบบป้องกันการรบกวน แบบติดตั้งประจำที่ 1 ชุด และแบบมือถือ 5 ชุด (พร้อมชุดปากพูดหูฟังอิเล็กทรอนิกส์) 
กล้องสองตาแบบมีเข็มทิศ กำลังขยาย 7 เท่า 2 ชุด 
ไฟฉาย ความสว่าง 20,000-80,000 แรงเทียน 
ระบบประกาศและหวูดสัญญาณเสียง 

ขีดความสามารถ 

(1) มาตรการลดการถูกตรวจพบ 
ออกเรือได้ภายใน 10 นาที และออกตัว-หยุดเรือได้อย่างรวดเร็ว 
ท้องเรือ รูปตัววี สามารถเคลื่อนตัวทางข้างได้และหันเลี้ยวได้ 180 องศาที่ความเร็วสูงสุด 
ตัวเรือเหนือแนวน้ำลดการถูกตรวจจับด้วยเรดาร์ 
ตัวเรือใต้แนวน้ำด้านข้างลดการกระจายของฝอยน้ำ 
ท่อไอเสียเครื่องจักรใหญ่ลดการแพร่ความร้อนและเสียง 
(2) การบรรทุกและรับส่งกำลังพล 
ดาดฟ้าท้ายเรือ สามารถบรรทุกชุดปฏิบัติการพิเศษพร้อมยุทโธปกรณ์ได้ 8 นาย (หรือสิ่งอุปกรณ์ประมาณ 1 ตัน) 
สามารถเกยฝั่ง-ถอนตัวจากฝั่ง เพื่อรับส่งชุดปฏิบัติการพิเศษได้ 
(3) การวางกำลังโดยขนย้ายทางบก 
จุดยกเรือที่กราบเรือสำหรับยกขึ้นลงด้วยเครน และห่วงลากเรือที่หัวเรือสำหรับลากขึ้นลงน้ำ 

ตัวเรือสูง 3.3 ม. เมื่อพับเก็บโครงหลังคาและเสากระโดง สำหรับลำเลียงด้วยรถลากชานต่ำ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น