Fruity Cherry Heart
ยินดีตอนรับเหล่าทหารกล้าหาญทุกท่าน

วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

Royal Thai Navy Auxiliary Ship Specification



Royal Thai Navy Auxiliary Ship Specification


ข้อมูลมูลด้านจำนวนผมยึดจาก thaiarmedforce เป็นหลักนะครับและรูปภาพในบางรูปนั้นอาจไม่ใช่รูปกองกองทัพไทยแต่อาวุธในรูปมีประจำการในกองทัพนะครับ





เรือยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ (เรือ ยพญ.)




ชุด ร.ล.อ่างทอง (ลำที่ 3) (modified Endurance class LPD)

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

791 ร.ล. อ่างทอง (19 เมษายน 2555)

ผู้สร้าง 

Singapore Technologies Marine ประเทศสิงคโปร์ 

ขนาด 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 7,600 ตัน 
ความยาว 141 ม. ความกว้าง 21 ม. กินน้ำลึก 4.6 ม. 
ความเร็วสูงสุด 17 น็อต ความเร็วเดินทาง 12 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 5,000 ไมล์ (หรือประมาณ 45 วัน) 
ความคงทนทะเลระดับ sea state 6
กำลังพลประจำเรือ 151 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Caterpillar C280-12 กำลัง 4,060 กิโลวัตต์ 2 เครื่อง 
เครื่องขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล Caterpillar 3512B 4 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า Cummins Generator Technologies กำลังไฟฟ้า 900 กิโลวัตต์ 4 เครื่อง 
ชุดเกียร์ Reintjes LAF 4545 2 ชุด
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบปรับมุมได้ 
เครื่องผลักดันหัวเรือ (bow thruster) Wartsila Lips Defence 1 ชุด

อาวุธ 

ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Super Rapid ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล MSI-DSL/ATK DS30MR Mk 44 ขนาด 30 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 6 แท่น 
เรือระบายพลขนาดเล็ก (LCVP) ความยาว 13 ม. ความเร็วสูงสุด 15 น็อต น้ำหนักบรรทุก 3.6 ตัน หรือกำลังพล 36 นาย 2 ลำ 
เรือระบายพลขนาดกลาง (เรือ รพก. หรือ LCM) ความยาว 23 ม. ความเร็วสูงสุด 12 น็อต น้ำหนักบรรทุก 
18 ตัน 2 ลำ 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ Terma SCANTER 4100 (C-Search) 
ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Terma C-Fire 
เรดาร์เดินเรือ Raytheon Anschutz NSC-25 SeaScout 2 ชุด
ระบบอำนวยการรบ Terma C-Flex 
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ (MFC) Terma C-Flex 3 ชุด
ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (IBS) Raytheon Anschutz NSC-series 
ระบบสื่อสารแบบรวมการ (ICS) 
ระบบควบคุมระบบเรือแบบรวมการ (IPMS) 

ขีดความสามารถ 

(1) การบรรทุกกำลังพล 
สิ่งอำนวยความสะดวกสามารถรองรับทหารได้ 390 นาย ประกอบด้วย 
- นาวิกโยธินพร้อมรบ 360 นาย 
- หน่วยบิน (นักบิน เจ้าหน้าประจำเครื่อง ฝ่ายซ่อมบำรุง) 15 นาย 
- ฝ่ายอำนวยการ 15 นาย 
(2) การบรรทุกยานพาหนะ/ยุทโธปกรณ์ 
ดาดฟ้ายานพาหนะ ภายในตัวเรือ สามารถรองรับยานพาหนะได้ ดังนี้ 
- รถถัง M60 18 คัน 
- หรือ รถสะเทินน้ำสะเทินบก AAV 19 คัน  
- หรือ รถยนต์บรรทุกพร้อมรถพ่วง 15 คัน 
- หรือ รถยนต์บรรทุก 30 คัน 
(3) การลำเลียงพลขึ้นฝั่งด้วยเรือระบายพล 
อู่ลอย ภายในตัวเรือ  
- สามารถรองรับเรือระบายพลขนาดกลางได้พร้อมกัน 2 ลำ โดยจอดขนานกัน  
- สูบน้ำเข้าออกได้ โดยมีระดับน้ำลึกสูงสุด 1.5 ม. 
- สามารถรับ-ปล่อยเรือ/รถสะเทินน้ำสะเทินบกเข้าออกทั้งขณะเรือวิ่งและเรือจอด 
ประตูอู่ลอย บริเวณท้ายเรือ 
- ความกว้าง 15.6 ม. ความสูง 8 ม. 
- เมื่อกางออกจะใช้เป็น stern ramp
พื้นที่จัดเก็บเรือระบายพลขนาดเล็ก 2 ลำ บริเวณกราบซ้ายและขวาบนหลักเดวิท 
(4) การลำเลียงพลขึ้นฝั่งด้วยอากาศยาน 
ดาดฟ้าบิน บริเวณท้ายเรือ สามารถรับ-ส่งอากาศยานได้ ดังนี้ 
- เฮลิคอปเตอร์ Sikorsky S-70B Seahawk หรือ Sikorsky MH-60S Knighhawk พร้อมกัน 2 เครื่อง 
- หรือ เฮลิคอปเตอร์ Boeing CH-47D Chinook 1 เครื่อง 
โรงเก็บอากาศยาน บริเวณด้านหน้าดาดฟ้าบิน สามารถรองรับอากาศยานได้ ดังนี้ 
- เฮลิคอปเตอร์ Sikorsky S-70B Seahawk 2 เครื่อง 
- หรือ เฮลิคอปเตอร์ Sikorsky MH-60S Knighhawk 2 เครื่อง 
อุปกรณ์เติมเชื้อเพลิงอากาศยาน 
(5) การขนถ่ายยานพาหนะ/ยุทโธปกรณ์ เข้าออกเรือ
pier ramp เชื่อมต่อท่าเรือกับดาดฟ้ายานพาหนะ บริเวณลำตัวเรือกราบขวา     
beach ramp เชื่อมต่ออู่ลอยกับดาดฟ้ายานพาหนะ สำหรับการขึ้นลงเรือระบายพล 
stern ramp เชื่อมต่ออู่ลอยกับเรือระบายพล/ท่าเรือ บริเวณท้ายเรือ 
- ความยาว 7 ม. โครงสร้างรองรับน้ำหนักได้ 66 ตัน 
- สามารถต่อเชื่อมกับเรือระบายพลขนาดใหญ่ (LCU) ในทะเลได้ 
เครนประจำที่ MacGregor 2 ชุด บริเวณกราบซ้ายและขวาด้านหลังโรงเก็บอากาศยาน รองรับน้ำหนักได้ 10 และ 20 ตัน 
(6) การขนถ่ายยานพาหนะ/ยุทโธปกรณ์ ภายในตัวเรือ
จานกลับรถ ภายในดาดฟ้ายานพาหนะ บริเวณหน้า pier ramp
ลิฟท์ลำเลียงยานพาหนะ/ยุทโธปกรณ์ 
- ติดตั้งภายในตัวเรือ ระหว่างดาดฟ้าบรรทุกกับดาดฟ้าโรงเก็บอากาศยาน 
- ความกว้าง 6 ม. ความยาว 18 ม. 
- โครงสร้างลิฟท์รองรับน้ำหนักได้ 22 ตัน 
(7) ส่วนควบคุม/สนับสนุนการปฏิบัติการ 
ห้องควบคุมการจราจรทางอากาศ (amphibious air traffic control หรือ AATC) 
ห้องควบคุมการบิน (primary flight control) 
ห้องควบคุมการลำเลียงพลออกจากเรือ (debarkation control) 
ห้องควบคุมอู่ลอย (well dock control) 

ขีดความสามารถอื่นๆ 

ส่วนการบัญชาการรบ ประกอบด้วย  
- ศูนย์บัญชาการหมวดเรือเฉพาะกิจสะเทินน้ำสะเทินบก (flag plot)
- ศูนย์ยุทธการกำลังรบยกพลขึ้นบก (landing force operation center หรือ LFOC) 
- ศูนย์ส่งกำลังทางยุทธวิธี (tactical-logistical center หรือ TACLOG) 
- ศูนย์ประสานอาวุธสนับสนุน (supporting arms coordination center หรือ SACC)  
อู่ลอย สามารถรองรับเรือปฏิบัติการพิเศษ (เรือ พ.) ได้พร้อมกัน 2 ลำ
โรงพยาบาล ประกอบด้วยห้องพักผู้ป่วย ห้องรักษาพยาบาล และห้องทันตกรรม 
ห้องอเนกประสงค์ขนาดใหญ่ (เช่น สำหรับการเรียนการสอนในกรณีใช้เป็นเรือฝึก)





ชุด ร.ล.สีชัง (Normed PS 700 class LST) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

721 ร.ล.สีชัง (9 ตุลาคม 2530) 
722 ร.ล.สุรินทร์ (16 ธันวาคม 2531) 

ผู้สร้าง 

Italthai Marine ประเทศไทย (721) 
Bangkok Dock ประเทศไทย (722) 

คุณลักษณะ 

721 
ระวางขับน้ำเต็มที่ 3,540 ตัน 
ความยาว 103.0 ม. ความกว้าง 15.7 ม. กินน้ำลึก 4.3 ม. 
ความเร็วสูงสุด 16 น็อต ความเร็วเดินทาง 12 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 7,000 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 122 นาย 
722 
ระวางขับน้ำ เต็มที่ 4,520 ตัน 
ความยาว 112.5 ม. ความกว้าง 15.4 ม. กินน้ำลึก 4.1 ม. 
ความเร็วสูงสุด 16 น็อต ความเร็วเดินทาง 12 น็อต 
รัศมีทำการที่ความเร็วเดินทาง 7,000 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 122 นาย 

เครื่องจักร 

721 
เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 20V 1163 TB62 กำลัง 1,538 (721) หรือ 1,838 (722) แรงม้า 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้ 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Breda/Bofors Type 564 ขนาด 40 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น (721) หรือ 2 แท่น (722) 
ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk.20 DM6 ขนาด 20 มม./85 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
เรือระบายพลขนาดเล็ก (LCVP) 4 ลำ 
อิเล็กทรอนิกส์ 
เรดาร์เดินเรือ Koden 2 ชุด
ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง BAE Sea Archer Mk 1A mod 2
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M

ขีดความสามารถ 

(1) การบรรทุกกำลังพล 
สิ่งอำนวยความสะดวกสามารถรองรับนาวิกโยธินพร้อมรบได้ 339 นาย (721) หรือ 354 นาย (722) 
(2) การบรรทุกยานพาหนะ/ยุทโธปกรณ์ 
ดาดฟ้าบรรทุก ภายในตัวเรือ สามารถรองรับยานพาหนะได้ ดังนี้ 
- รถถัง M60 13 คัน และรถยนต์บรรทุกขนาด 2.5 ตัน 6 คัน 
- หรือ รถสะเทินน้ำสะเทินบก AAV-7A1 12 คัน 
- หรือ ยุทโธปกรณ์ 850 ตัน 
ดาดฟ้าบิน บริเวณกลางลำเรือ สามารถรองรับรถยนต์บรรทุกขนาด 1.25 ตัน (HMMWV) ได้ 10 คัน 
(3) การลำเลียงพลขึ้นฝั่ง 
พื้นที่จัดเก็บเรือระบายพลขนาดเล็ก 4 ลำ ดังนี้ 
- บริเวณกราบซ้ายและขวาบนหลักเดวิท 2 ลำ (721) หรือ 4 ลำ (722) 
- บริเวณดาดฟ้าหัวเรือ 2 ลำ (721) 
ประตูดาดฟ้าบรรทุก พร้อมแรมพ์ขนถ่ายยานพาหนะ บริเวณหัวเรือ 
- สามารถรับ-ปล่อยรถสะเทินน้ำสะเทินบก AAV-7A1 ในทะเลได้ 
- สามารถต่อเชื่อมกับเรือระบายพลขนาดใหญ่ (LCU) เพื่อขนถ่ายยานพาหนะ/ยุทโธปกรณ์ในทะเลได้
- สามารถขนถ่าย ยานพาหนะ/กำลังพลเข้าออกขณะเรือเกยหาด 
ดาดฟ้าบิน 2 จุด บริเวณท้ายเรือและกลางลำเรือ สามารถรับส่งเฮลิคอปเตอร์ Bell-212 ได้จุดละ 1 เครื่อง 
(4) การขนถ่ายยานพาหนะ/ยุทโธปกรณ์ 
แรมพ์ลำเลียงยานพาหนะ/ยุทโธปกรณ์ ระหว่างดาดฟ้าบรรทุก กลางลำเรือกับภายในตัวเรือ 
เครนประจำที่ 2 ชุด บริเวณดาดฟ้าหัวเรือ (721) หรือดาดฟ้ากลางลำเรือ (722)

เรือส่งกำลังบำรุงขนาดเล็ก (เรือ สกล.)




ชุด ร.ล.มัตโพน (ลำที่ 2) (Marsun M55 class LCU)

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

784 ร.ล.มัตโพน (16 ธันวาคม 2553)
785 ร.ล.ราวี (16 ธันวาคม 2553)

ผู้สร้าง 

Marsun ประเทศไทย

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 420 ตัน เต็มที่ 550 ตัน 
ความยาว 55 ม. ความกว้าง 11 ม. กินน้ำลึกหัวเรือ 1.2 ม. ท้ายเรือ 1.8 ม. 
ความเร็วเดินทาง 12 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 1,500 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 49 นาย 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่น เดี่ยว 4 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Furuno 2 ชุด 

ขีดความสามารถ 

ดาดฟ้าบรรทุก สำหรับรถถัง M60 2 คัน หรือรถเกราะ V-150 3 คัน หรือรถยนต์บรรทุกขนาด 1.25 ตัน (HMMWV) 12 คัน หรือยุทโธปกรณ์/สิ่งอุปกรณ์ 145 ตัน

เรือระบายพลขนาดใหญ่ (เรือ รพญ.)





ชุด ร.ล.มัตโพน (LCT-501 class)

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

764 ร.ล.เภตรา (9 พฤศจิกายน 2491) 
766 ร.ล.ตะลิบง (2492) 

หมายเหตุ 

เดิม คือ เรือ LCT-1089 และ LCT-753 ของกองทัพเรือสหรัฐฯ

ผู้สร้าง 

Quincy Barge ประเทศสหรัฐอเมริกา 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 145 ตัน เต็มที่ 330 ตัน 
ความยาว 35.2 ม. ความกว้าง 9.7 ม. กินน้ำลึก 1.4 ม. 
ความเร็วสูงสุด 8 น็อต ความเร็วเดินทาง 6 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,096 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 1,230 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 35 นาย

เครื่องจักร

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล General Motors 6051-71 กำลัง 225 แรงม้า 3 เครื่อง 
เพลาใบจักร 3 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon Mk.4 ขนาด 20 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นคู่ 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 4 แท่น

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Koden 

ขีดความสามารถ 


ดาดฟ้าบรรทุก สำหรับรถถัง M60 2 คัน หรือยุทโธปกรณ์ 150 ตัน




ชุด ร.ล.ทองแก้ว 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

771 ร.ล.ทองแก้ว (28 ธันวาคม 2525) 
772 ร.ล.ทองหลาง (19 เมษายน 2526) 
773 ร.ล.วังนอก (16 กันยายน 2526) 
774 ร.ล.วังใน (11 พฤศจิกายน 2526)

ผู้สร้าง 

Bangkok Dock ประเทศไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 173 ตัน เต็มที่ 396 ตัน 
ความยาว 41.0 ม. ความกว้าง 9.0 ม. กินน้ำลึก 1.2 ม. 
ความเร็วสูงสุด 12 น็อต ความเร็วเดินทาง 10 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,890 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 2,075 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 33 นาย

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 16V-71N กำลัง 700 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล กำลังไฟฟ้า 30 กิโลวัตต์ 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล M1919A4 ขนาด 7.62 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Decca 

ขีดความสามารถ 


ดาดฟ้าบรรทุก สำหรับรถถัง M60 2 คัน หรือยุทโธปกรณ์ 143 ตัน




ชุด ร.ล.มันนอก 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

781 ร.ล.มันนอก 
782 ร.ล.มันกลาง 
783 ร.ล.มันใน 

ผู้สร้าง 

Silkline International - Australian Submarine Corperation (ASC) Joint Venture ประเทศไทย 

คุณลักษณะ

ระวางขับน้ำเต็มที่ 550 ตัน 
ความยาว 52.4 ม. ความกว้าง 11.2 ม. กินน้ำลึก 2.6 ม. 
ความเร็วสูงสุด 12 น็อต ความเร็วเดินทาง 10 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 1,500 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 33 นาย

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Caterpillar 3412DITA กำลัง 720 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล Caterpillar 3306DT 1 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบ Kort nozzle

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk 20 DM6 ขนาด 20 มม./85 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์

เรดาร์เดินเรือ Raytheon Pathfinder และ Furuno 

ขีดความสามารถ 


ดาดฟ้าบรรทุก สำหรับรถถัง M60 2 คัน หรือยุทโธปกรณ์ประมาณ 145 ตัน

เรือระบายพลขนาดเล็ก (เรือ รพล.)


ชุด ล.51 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ

ล.51 - ล.512

หมายเหตุ 

ได้รับมอบตามข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐอเมริกา 

ผู้สร้าง 

ประเทศสหรัฐอเมริกา

คุณลักษณะ

ระวางขับน้ำเต็มที่ 12 ตัน 
ความยาว 10.9 ม. ความกว้าง 3.2 ม. กินน้ำลึก 1 ม. 
ความ เร็วสูงสุด 9 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 110 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 3 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Gray Marine 64HN9 กำลัง 225 แรงม้า 1 เครื่อง หรือ Chrysler CM655-TID กำลัง 200 แรงม้า 1 เครื่อง (เฉพาะ ล.52 และ 54) หรือ Detroit Diesel 8V-8.2T กำลัง 225 แรงม้า 1 เครื่อง (เฉพาะ ล.57 และ 59) 
เครื่องขับดันแบบพ่นน้ำ Castoldi Jet mod 06 1 เครื่อง 

ขีด ความสามารถ 

ดาดฟ้าบรรทุก สำหรับกำลังพลพร้อมยุทโธปกรณ์ 39 นาย


เรือหุ้มเกราะลำเลียงพล (เรือ หกล.)


ชุด ล.41 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ล.41 - ล.43 

หมายเหตุ 

ได้รับมอบตามข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐอเมริกา

ผู้สร้าง 

Sewart Seacraft ประเทศสหรัฐอเมริกา 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 15 ตัน 
ความยาว 12.3 ม. ความกว้าง 3.2 ม. กินน้ำลึก 0.7 ม. 
ความเร็วสูงสุด 25 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 270 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 300 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 7 นาย

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Ford Sabre กำลัง 275 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องขับดันแบบพ่นน้ำ Castoldi Jet mod.06 2 เครื่อง 

อาวุธ 

ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 4 แท่น 
เครื่องยิงลูกระเบิด Mk 4 mod 0 ขนาด 60 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์

เรดาร์เดินเรือ 

ขีดความสามารถ 


ดาดฟ้าบรรทุก สำหรับกำลังพลพร้อมยุทโธปกรณ์ 35 นาย



เรือปฏิบัติการพิเศษ (เรือ พ.)




ชุด พ.51 (Marsun M18 class fast attack boat) 

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

พ.51 - พ.54 (2552) 

ผู้ สร้าง 

Marsun ประเทศไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 25 ตัน 
ความยาว 18 ม. ความกว้าง 4 ม. 
ความเร็วสูงสุด 42 น็อต ความเร็วเดินทาง 35 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 370 ไมล์

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel กำลัง 1,300 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องขับดันและบังคับทิศทางแบบพ่นน้ำ Kamewa FF450S 
ความจุถังเชื้อเพลิง 3,600 ลิตร อัตราสิ้น เปลืองเชื้อเพลิงที่ความเร็วเดินทาง 320 ลิตร/ชม. 

อาวุธ 

ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ 

ขีดความสามารถ 

(1) การบรรทุกกำลังพล/ยุทโธปกรณ์ 
ห้องบรรทุก ภายในตัวเรือ สามารถรองรับกำลังพลนักทำลายใต้น้ำจู่โจมพร้อมยุทโธปกรณ์ได้ 1 ชุดปฏิบัติการ (14 นาย) และชุดควบคุมได้ 1 ชุด (4 นาย) 
ดาดฟ้าบรรทุก ท้ายเรือ สามารถรองรับยุทโธปกรณ์ได้ 2.2 ตัน หรือเรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) ได้ 2 ลำ 
(2) การรับส่งกำลังพล 
ประตูห้องบรรทุก พร้อมแรมพ์บริเวณหัวเรือ สามารถรับส่งกำลังพลเข้าออกขณะเรือเกยฝั่ง 
แรมพ์ท้าย สามารถรับส่งเรือยางได้โดยไม่ต้องหยุดลอยลำ (underway launch and recovery)

เรือสนับสนุนการต่อต้านทุ่นระเบิด (เรือ สตท.)




ชุด ร.ล.ถลาง 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

621 ร.ล.ถลาง (25 มิถุนายน 2523) 

ผู้สร้าง 

Bangkok Dock - Ferrostaal ประเทศไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 916 ตัน เต็มที่ 1,095 ตัน 
ความยาว 55.7 ม. ความกว้าง 10.0 ม. กินน้ำลึก 3.1 ม. 
ความเร็วสูงสุด 12 น็อต ความเร็วเดินทาง 10 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 5,600 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 5,900 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 67 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล กำลัง 720 แรงม้า 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Bofors M3 ขนาด 40 มม./60 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
รางปล่อยทุ่นระเบิด 1 ราง 

อิเล็กทรอนิกส์

เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine และ Furuno 
โซนาร์กวาดทางข้าง (side scan sonar) แบบเคลื่อนย้ายได้ 

ขีดความสามารถ 

(1) การสนับสนุนการปฏิบัติการต่อต้านทุ่นระเบิด 
ระวางบรรทุกสิ่งอุปกรณ์ต่างๆ สำหรับส่งกำลังบำรุงให้หมู่เรือกวาดทุ่นระเบิดน้ำตื้นได้นาน 10 วัน 
สามารถสนับสนุนการซ่อมบำรุงให้กับเรือกวาดทุ่น ระเบิดน้ำตื้นได้ 
ใช้เป็นที่ควบคุมสั่งการปฏิบัติการของหมู่เรือกวาดทุ่นระเบิดน้ำตื้น 
(2) อุปกรณ์ต่อต้านทุ่นระเบิด 
เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบอิทธิพลเสียง A Mk 4(v) และ A Mk 6(b) 
เครนรับส่งเครื่องกวาด 2 ชุด 
(3) การเก็บกู้วัตถุระเบิดและ ปฏิบัติการใต้น้ำ 
ห้องพักสำหรับกำลังพลชุดประดาน้ำถอดทำลายอมภัณฑ์ 
รองรับการติดตั้งตู้ปรับบรรยากาศความกดดันสูง (HBC) แบบเคลื่อนย้ายได้ Drager สำหรับประดาน้ำ 1 นาย

เรือล่าทำลายทุ่นระเบิดใกล้ฝั่ง (เรือ ลทฝ.)



ชุด ร.ล.บางระจัน (M48 class MHC)
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

631 ร.ล.บางระจัน (29 เมษายน 2530) 
632 ร.ล.หนองสาหร่าย (17 พฤศจิกายน 2530) 

ผู้สร้าง 

Friedrich Lurssen Werft ประเทศเยอรมนี 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 448 ตัน เต็มที่ 537 ตัน 
ความยาว 48.2 ม. ความกว้าง 9.6 ม. กินน้ำลึก 2.5 ม. 
ความเร็วสูงสุด 16 น็อต ความเร็วเดินทาง 12 น็อต ความเร็วปฏิบัติการสูงสุดขณะต้องการเสียงเงียบ 7 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 2,000 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 3,100 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 48 นาย 

เครื่องจักร

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 396 TB83 กำลัง 1,470 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU (Benz) OM424 กำลังไฟฟ้า 155 กิโลวัตต์ 4 เครื่อง 
มอเตอร์ไฟฟ้าขับเพลาใบจักร (สำหรับปฏิบัติการเมื่อต้องการเสียงเงียบ) 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Sulzer Escher Wyss/MTU แบบปรับมุมได้ 
หางเสือ Becker Marine Systems แบบ flap rudder

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 3 แท่น 
รางปล่อยทุ่นระเบิด 1 ราง

อิเล็กทรอนิกส์

เรดาร์เดินเรือ Decca 1229 
โซนาร์ค้นหาทุ่นระเบิด Atlas Elektronik DSQS-11H 
ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ (degaussing) 
ระบบอำนวยการรบ Atlas Elektronik MWS-80R 

ขีดความสามารถ 

(1) มาตรการลดการแพร่เสียงและสนามแม่เหล็ก 
โครงตัวเรือสร้างจากเหล็กกล้ามีคุณสมบัติไม่เป็นแม่เหล็ก (austenitic) 
เปลือกตัวเรือ/ดาดฟ้า/เก๋งเรือบุด้วยไม้ Khaya ไม้ Sipo ไม้มะฮอกกานี และไม้สัก 
เครื่องจักรใหญ่และเครื่องกำเนิดไฟฟ้าติดตั้งบนแท่นรับแรงสั่นสะเทือนในห้องเก็บเสียง 
(2) อุปกรณ์ต่อต้านทุ่นระเบิด 
ระบบยานล่าทำลายทุ่นระเบิด GayMarine Pluto 1 ระบบ 
- ยานใต้น้ำไร้คนขับ ควบคุมจากระยะไกล (UUV) 2 เครื่อง พร้อมเปลเข็นยาน 
- เครนรับส่งยาน 1 ชุด (ใช้สำหรับรับส่งเรือยางประจำเรือด้วย) 
- ตัวยานสร้างจากวัสดุผสม GRP ยาว 1.68 ม. 
- น้ำหนัก 160 กิโลกรัม น้ำหนักบรรทุก 45 กิโลกรัม 
- ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า 5 เครื่อง พร้อมแบตเตอรี่ในตัว 
- ความเร็วสูงสุด 4 น็อต ปฏิบัติการได้นาน 2 ชม. ที่ความลึกสูงสุด 300 ม. 
- ติดตั้งโซนาร์ค้นหาและพิสูจน์ทราบเป้า กล้องโทรทัศน์ กล้องถ่ายภาพนิ่ง และไฟฉาย 
- บรรทุกกรรไกรระเบิดสำหรับตัดทุ่นระเบิด S.E.I. CM102-ECP น้ำหนัก 2 กิโลกรัม (ดินระเบิดหนัก 120 กรัม) หรือ ดินระเบิดสำหรับทำลายทุ่นระเบิด S.E.I. CM101-CAP น้ำหนัก 45 กิโลกรัม (ดินระเบิดหนัก 30 กิโลกรัม) 
- แผงควบคุมยานและจอแสดงผลภายในตัวเรือ 
- สายสัญญาณ สำหรับควบคุมยาน แบบ fiber optic ขนาด 3 มม. ยาว 2,000 ม. 
- สายสัญญาณ สำหรับควบคุมยาน แบบ coaxial electric ขนาด 6 มม. ยาว 500 ม. 
เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบกลไก Atlas Elektronik SDG 31 double Oropesa พร้อมเครนรับส่งเครื่องกวาด 
ปืนใหญ่กล GAM-CO1 สามารถใช้ยิงทำลายทุ่นระเบิดที่อยู่บนผิวน้ำได้ 
(3) การเก็บกู้วัตถุระเบิดและปฏิบัติการใต้น้ำ 
ห้องพักสำหรับกำลังพลชุดประดาน้ำถอดทำลายอมภัณฑ์ 7 นาย 
รองรับการติดตั้งตู้ปรับบรรยากาศความกดดันสูง (HBC) แบบเคลื่อนย้ายได้ Drager สำหรับประดาน้ำ 1 นาย 

เรือยางทางยุทธวิธี พร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 2 ลำ




ชุด ร.ล.ลาดหญ้า (ลำที่ 3) (Gaeta class MHC) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

633 ร.ล.ลาดหญ้า (มิถุนายน 2542) 
634 ร.ล.ท่าดินแดง (พศจิกายน 2542)

ผู้สร้าง 

Intermarine SpA ประเทศอิตาลี 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 650 ตัน เต็มที่ 680 ตัน 
ความยาว 52.5 ม. ความ กว้าง 9.9 ม. กินน้ำลึก 2.9 ม. 
ความเร็วสูงสุด 14 น็อต ความเร็วเดินทาง 12 น็อต ความเร็วปฏิบัติการสูงสุดขณะต้องการเสียงเงียบ 6 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,500 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 2,500 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 48 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 8V 396 TE74K กำลัง 805 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MTU 6R 183 TE52K กำลังไฟฟ้า 225 กิโลวัตต์ 4 เครื่อง 
มอเตอร์ไฮดรอลิกส์/ไฟฟ้าขับเพลาใบจักร กำลัง 180 แรงม้า 2 เครื่อง (สำหรับปฏิบัติการเมื่อต้องการเสียงเงียบ) 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Voith Turbo type 18 GH/135 แบบ Voith-Schneider propeller (VSP) หรือ cycloidal drive 
เครื่องผลักดันหัวเรือ (bow thruster) กำลัง 180 แรงม้า 1 ชุด 
ความจุถังเชื้อเพลิง 49 ตัน 
ถังปรับแต่งการทรงตัวของเรือ (สามารถใช้บรรทุกเชื้อเพลิงเพื่อเพิ่มระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทางได้อีก 1,500 ไมล์) 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล MSI-DSL/Oerlikon DS30BL KCB ขนาด 30 มม./75 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์

เรดาร์เดินเรือ Atlas Elektronik 9600M ARPA 
โซนาร์ค้นหาทุ่นระเบิด Atlas Elektronik DSQS-11M 
ระบบลบล้างสนามแม่เหล็กตัวเรือ (degaussing) 
ระบบอำนวยการรบ Atlas Elektronik MWS-80-6 IMCS (Integrated Mine Countermeasure System) 
ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (IBS) Atlas Elektronik NBD 
ระบบสื่อสารแบบรวมการ (ICS) Rohde & Schwarz 

ขีดความสามารถ 

(1) มาตรการลดการแพร่เสียงและสนามแม่เหล็ก 
ตัวเรือสร้างจากวัสดุผสม glass reinforced plastic (GRP) 
เครื่องจักรใหญ่และเครื่องกำเนิดไฟฟ้าติดตั้งบนแท่นรับแรงสั่นสะเทือนในห้องเก็บเสียง 
(2) อุปกรณ์ต่อต้านทุ่นระเบิด 
ระบบยานล่าทำลายทุ่นระเบิด GayMarine Pluto Plus 1 ระบบ 
- ยานใต้น้ำไร้คนขับ ควบคุมจากระยะไกล (UUV) 2 เครื่อง พร้อมเปลเข็นยาน 
- เครนรับส่งยาน 2 ชุด (ใช้สำหรับรับส่งเครื่องกวาดทุ่นระเบิดและเรือยางประจำเรือด้วย) 
- ตัวยานสร้างจากวัสดุผสม GRP ยาว 1.95 ม. 
- น้ำหนัก 315 กิโลกรัม น้ำหนักบรรทุก 100 กิโลกรัม 
- ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า 5 เครื่อง พร้อมแบตเตอรี่ในตัว 
- ความเร็วสูงสุด 6 น็อต ปฏิบัติการได้นาน 10 ชม. ที่ความลึกสูงสุด 300 ม. 
- ติดตั้งโซนาร์นำร่อง/ค้นหาเป้า 1 ชุด โซนาร์พิสูจน์ทราบเป้า 1 ชุด กล้องโทรทัศน์สี 1 ชุด และไฟฉาย 1 ชุด 
- บรรทุกกรรไกรระเบิดสำหรับตัดทุ่นระเบิด S.E.I. CM102-ECP น้ำหนัก 2 กิโลกรัม (ดินระเบิดหนัก 120 กรัม) หรือ ดินระเบิดสำหรับทำลายทุ่นระเบิด S.E.I. CM101-CAP น้ำหนัก 45 กิโลกรัม (ดินระเบิดหนัก 30 กิโลกรัม) 
- แผงควบคุมยานติดตั้งในห้องศูนย์ยุทธการ พร้อมอุปกรณ์ควบคุมแบบมือถือ และจอแสดงผลที่สะพานเดินเรือ 
- สายสัญญาณ สำหรับควบคุมยาน แบบ fiber optic ขนาด 3 มม. ยาว 2,000 ม. 
- สายสัญญาณ สำหรับควบคุมยาน แบบ coaxial electric ขนาด 6 มม. ยาว 500 ม. 
เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบกลไก Bofors MS 106 double Oropesa 
มีระบบรองรับการติดตั้งเครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบอิทธิพลเสียง A Mk 4(v) 
มีระบบรองรับการติดตั้งเครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบอิทธิพลแม่เหล็ก Thales Australia Mini Dyad 
ปืนใหญ่กล DS-30B สามารถใช้ยิงทำลายทุ่นระเบิดที่อยู่บนผิวน้ำได้ 
(3) การเก็บกู้วัตถุระเบิดและปฏิบัติการใต้น้ำ 
ห้องพักสำหรับกำลังพลชุดประดาน้ำถอดทำลายอมภัณฑ์ 7 นาย 
ตู้ปรับบรรยากาศ ความกดดันสูง (HBC) Drass Galeazzi รองรับประดาน้ำได้พร้อมกัน 2 นาย 

เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 2 ลำ

เรือกวาดทุ่นระเบิดใกล้ฝั่ง (เรือ กทฝ.)



ชุด ร.ล.ลาดหญ้า (ลำที่ 2) (MSC-289 class) 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ

612 ร.ล.บางแก้ว (9 กรกฎาคม 2508) 
613 ร.ล.ดอนเจดีย์ (17 กันยายน 2508) 

หมายเหตุ 

เดิม คือ เรือ MSC-303 และ MSC-313 ของกองทัพเรือสหรัฐฯ 
ได้รับมอบตามข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐอเมริกา 

ผู้ สร้าง 

Dorchester Shipbuilding ประเทศสหรัฐอเมริกา (612) 
Peterson Builders ประเทศสหรัฐอเมริกา (613) 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 330 ตัน เต็มที่ 384 ตัน 
ความยาว 43.5 ม. ความ กว้าง 8.1 ม. กินน้ำลึก 2.7 ม. 
ความเร็วสูงสุด 13 น็อต ความเร็วเดินทาง 10 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 2,500 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 3,000 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 50 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Detroit Diesel 6V-71 กำลัง 250 แรงม้า 4 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon Mk 4 ขนาด 20 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Decca 1226 
โซนาร์ค้นหาทุ่นระเบิด Westinghouse AN/UQS-1D 

ขีดความสามารถ 

เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบกลไก Type Q2 
เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบอิทธิพลเสียง A Mk 4(v) และ A Mk 6(b) 
เครนรับส่งเครื่องกวาดทุ่นระเบิด 2 ชุด 
ปืนใหญ่กล Mk 4 สามารถใช้ยิงทำลายทุ่นระเบิดที่อยู่บนผิวน้ำได้


เรือกวาดทุ่นระเบิดน้ำตื้น (เรือ กทต.)


ชุด ท.1 (ลำที่ 2) 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ท.1 (20 กุมภาพันธ์ 2538) 
ท.2 (24 มกราคม 2539) 
ท.3 (16 กรกฎาคม 2540) 
ท.4 
ท.5 
ท.11 (15 กรกฎาคม 2537) 
ท.12 (6 ตุลาคม 2537) 

ผู้สร้าง 

กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 30 ตัน เต็มที่ 33 ตัน 
ความยาว 17.2 ม. ความกว้าง 4.3 ม. กินน้ำลึก 1.0 ม. 
ความเร็วสูงสุด 10 น็อต ความเร็วเดินทาง 9 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 495 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 6 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องยนต์จักรใหญ่ดีเซล กำลัง 420 แรงม้า 1 เครื่อง 
เพลาใบจักร 1 เพลา 

อาวุธ 

ปืนกล U.S. Ordnance M60 ขนาด 7.62 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

ขีดความสามารถ 

ตัวเรือสร้างจากวัสดุผสม glass reinforced plastic (GRP) เก๋งเรือและพื้นเรือสร้างจากไม้ 
เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบอิทธิพลเสียง A Mk 4(v) 
เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบอิทธิพลแม่เหล็ก



ชุด ท.6 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ท.6 (2 ตุลาคม 2506) 
ท.7 (2 ตุลาคม 2506) 
ท.8 (2 ตุลาคม 2506) 
ท.9 (2 ตุลาคม 2506) 
ท.10 (2 ตุลาคม 2506) 

หมายเหตุ 

เรือ ท.6 ถึง ท.10 ได้รับมอบตามข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือทางทหารจากสหรัฐอเมริกา 

ผู้สร้าง 

11th Naval District Shipyard Long Beach ประเทศสหรัฐอเมริกา (ท.6 - ท.10) 
กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย (ท.11 และ ท.12) 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 25 ตัน 
ความยาว 15.0 ม. ความกว้าง 3.9 ม. กินน้ำลึก 0.9 ม. 
ความเร็วสูงสุด 10 น็อต ความเร็วเดินทาง 8 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 250 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 300 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 6 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล กำลัง 225 แรงม้า 1 เครื่อง 
เพลา ใบจักร 1 เพลา 

อาวุธ 

ปืนกล U.S. Ordnance M60 ขนาด 7.62 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

ขีดความสามารถ 

ตัวเรือสร้างจากวัสดุผสม glass reinforced plastic (GRP) พื้นเรือ สร้างจากไม้ 
เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบอิทธิพลเสียง A Mk 4(v) 

เครื่องกวาดทุ่นระเบิดแบบอิทธิพลแม่เหล็ก

เรือส่งกำลังบำรุงขนาดใหญ่ (เรือ สกญ.)




ชุด ร.ล.สิมิลัน (modified Quiandaohu class AOE) 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

871 ร.ล.สิมิลัน (12 สิงหาคม 2539)

หมายเหตุ 

ร.ล.สิมิลัน เป็นส่วนหนึ่งของหมู่เรือปราบปรามโจรสลัด (มปจ.) ที่กองทัพเรือส่งไปปฏิบัติการในพื้นที่อ่าวเอเดน ชายฝั่งประเทศโซมาเลีย และบริเวณใกล้เคียง ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 10 กันยายน 2553 ถึง 27 มกราคม 2554 และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 12 กรกฎาคม 2554 ถึง 28 พฤศจิกายน 2554 

ผู้สร้าง 

China State Shipbuilding Corperation (CSSC) ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 10,600 ตัน เต็มที่ 22,000 ตัน 
ความยาว 171.4 ม. ความกว้าง 24.6 ม. กินน้ำลึก 9.0 ม. 
ความเร็วสูงสุด 19 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 2,500 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 10,000 ไมล์ 
ความคงทนทะเลระดับ sea state 6 (ระดับ sea state 5 สำหรับปฏิบัติการบิน) 
กำลังพลประจำเรือ 157 นาย 

เครื่องจักร

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล SEMT-Pielstick 16PC2 6V400 กำลัง 11,960 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า Wuxi-Siemens 1FC564-6TA กำลังไฟฟ้า 1,000 กิโลวัตต์ 4 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน Siemens 1FC5-4TA กำลังไฟฟ้า 200 กิโลวัตต์ 1 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Kamewa แบบปรับมุมได้ 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon GAM-CO1 ขนาด 20 มม./95 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 4 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 4 แท่น 
เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 6 ลำ

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine Rasca 2 ชุด 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม M-VSAT  
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom Link RTN

ขีดความสามารถในการส่งกำลังบำรุง 

(1) การสนับสนุนกองเรือ 
สามารถส่งกำลังบำรุงให้หมวดเรือเฉพาะกิจปฏิบัติการได้ไกล 10,000 ไมล์ หรือประมาณ 30 วัน ดังนี้ 
- หมวดเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ ที่ประกอบด้วย เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ 1 ลำ และเรือฟริเกต 6 ลำ 
- หมวดเรือปฏิบัติการผิวน้ำ ที่ประกอบด้วย เรือฟริเกต 8 ลำ 
(2) การบรรทุกสิ่งอุปกรณ์ 
ระวางบรรทุกสิ่งอุปกรณ์ต่างๆ รวม 12,000 ตัน ประกอบด้วย 
- ถังเก็บเชื้อเพลิงดีเซลเรือ (DFM) ขนาด 8,000 ตัน 
- ถังเก็บเชื้อเพลิงอากาศยาน (JP-5) ขนาด 2,500 ตัน 
- ถังเก็บน้ำมันหล่อลื่น ขนาด 70 ตัน 
- คลังเก็บสรรพาวุธ ขนาด 450 ตัน 
- ถังเก็บน้ำจืด ขนาด 1,100 ตัน 
- ห้องเก็บเสบียงแห้ง ขนาด 100 ตัน 
- ห้องเย็นเก็บเสบียงสด ขนาด 100 ตัน 
(3) การรับส่งสิ่งอุปกรณ์ทางกราบเรือ 
เสา (kingpost/outrigger) ติดตั้งระบบขนถ่ายสิ่งอุปกรณ์ในทะเล 2 ชุด บริเวณดาดฟ้ากลางลำส่วนหน้าและหลัง 
ระบบเติมเชื้อเพลิงในทะเล Bosch Rexroth fuelling-at-sea (FAS) system ที่กราบซ้ายหลัง 1 ระบบ 
ระบบส่งกำลังเพิ่มเติมในทะเล Bosch Rexroth replenishment-at-sea (RAS) system ที่กราบขวาหลัง 1 ระบบ 
ห้องควบคุมการปฏิบัติงานของระบบ FAS/RAS บริเวณดาดฟ้ากลางลำ 
รองรับการติดตั้งระบบ FAS/RAS เพิ่มเติม ได้อีกอย่างละ 1 ระบบ ที่กราบขวาหน้าและหน้า เพื่อให้สามารถส่งสิ่งอุปกรณ์ให้กับเรือแต่ละลำพร้อมกันได้ทั้งของเหลวและของแห้ง 
ขีดความสามารถของระบบ FAS/RAS ประกอบด้วย 
- อัตราการส่งน้ำมันเชื้อเพลิง (DFM หรือ JP-5) 450 ลบ.ม/ชม. 
- อัตราการส่งน้ำจืด 50 ลบ.ม/ชม. 
- อัตราการส่งสรรพาวุธหรือเสบียง 2 ตัน/ชม. 
- สามารถปฏิบัติงานพร้อมกันได้ทั้งกราบซ้ายและขวา เพื่อส่งสิ่งอุปกรณ์ให้เรือ 2 ลำพร้อมกัน 
(4) การรับส่งสิ่งอุปกรณ์ทางท้ายเรือ 
ระบบเติมเชื้อเพลิงในทะเลทางท้ายเรือ Bosch Rexroth astern fueling-at-sea (AFAS) บริเวณดาดฟ้าท้ายเรือใต้ลานจอดเฮลิคอปเตอร์ 
สำหรับเติมเชื้อเพลิงให้กับเรือที่ไม่มีท่อรับเชื้อเพลิงแรงดันสูงบริเวณกราบเรือ 
(5) การรับส่งสิ่งอุปกรณ์ทางดิ่ง 
ลานจอดและโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Sikorsky S-70B Seahawk หรือ Sikorsky MH-60S Knighthawk 1 เครื่อง 
สำหรับการส่งกำลังเพิ่มเติมในแนวดิ่ง (vertical replenishment; VERTREP) 
ห้องควบคุมพร้อมระบบควบคุมขึ้นลงของเฮลิคอปเตอร์เหนือโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ 

ขีดความสามารถอื่นๆ 

สิ่งอำนายความสะดวกในการบัญชาการรบ ประกอบด้วย 
- ห้องผู้บัญชาการหมวดเรือ 
- ศูนย์บัญชาการหมวดเรือ (flag plot หรือ tactical flag command center) 
สามารถใช้เป็นที่บัญชาการรบสำรองสำหรับหมวดเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ และที่บัญชาการรบหลักสำหรับหมวดเรือปฏิบัติการผิวน้ำ 

ห้องพักสำรองสำหรับกำลังพลเพิ่มเติม

เรือเสบียง (เรือ ลลส.)



ชุด ร.ล.เกล็ดแก้ว 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

861 ร.ล.เกล็ดแก้ว (9 เมษายน 2499) 

หมาย เหตุ 

เดิม คือ เรือ Norfrost ของกองทัพเรือนอร์เวย์

ผู้สร้าง 

M. Haldorsen and Son of Norway ประเทศนอร์เวย์

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 382 ตัน เต็มที่ 450 ตัน 
ความยาว 47.2 ม. ความกว้าง 7.8 ม. กินน้ำลึก 2.8 ม. 
ความเร็วสูงสุด 12 น็อต ความเร็วเดินทาง 11 น็อต 
กำลังพลประจำเรือ 53 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Wishman กำลัง 600 แรงม้า 1 เครื่อง 
เพลาใบจักร 1 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon Mk.4 ขนาด 20 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 3 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Koden


เรือน้ำมัน (เรือ นม.)


ชุด ร.ล.จุฬา 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

831 ร.ล.จุฬา (30 ธันวาคม 2523) 

ผู้สร้าง 

Singmarine Shipyard ประเทศสิงคโปร์

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 1,136 ตัน เต็มที่ 1,661 ตัน 
ความยาว 67.0 ม. ความกว้าง 9.5 ม. กินน้ำลึก 3.3 ม. 
ความเร็วสูงสุด 14 น็อต ความเร็วเดินทาง 12 น็อต 
กำลังพลประจำเรือ 42 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 396 TC62 กำลัง 1,200 แรงม้า 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon Mk 4 ขนาด 20 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Koden

ขีดความสามารถ 

ระวางบรรทุกเชื้อเพลิงดีเซลเรือ (DFM) 800 ตัน 
เครนติดตั้งท่อเติมเชื้อเพลิง บริเวณดาดฟ้ากลางลำ





ชุด ร.ล.สมุย (YOG-5 class gasoline barge)

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

832 ร.ล.สมุย (20 พฤศจิกายน 2490) 

หมายเหตุ 

เดิม คือ เรือ YOG-60 ของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา 

ผู้สร้าง 

Albina Engine and Machine Works ประเทศสหรัฐอเมริกา

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 410 ตัน เต็มที่ 1,235 ตัน 
ความยาว 53.0 ม. ความกว้าง 10.0 ม. กินน้ำลึก 3.6 ม. 
ความเร็วสูงสุด 8 น็อต ความเร็วเดินทาง 6 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 2,196 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 2,352 ไมล์ 
กำลังพลประจำ เรือ 63 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Union กำลัง 600 แรงม้า 1 เครื่อง 
เพลาใบจักร 1 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon Mk 4 ขนาด 20 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Koden





ชุด ร.ล.ปรง 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

833 ร.ล.ปรง (3 กุมภาพันธ์ 2484) 

ผู้ สร้าง 

กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 150 ตัน เต็มที่ 180 ตัน 
ความยาว 31.6 ม. ความกว้าง 5.9 ม. กินน้ำลึก 2.2 ม. 
ความเร็วสูงสุด 10 น็อต ความเร็วเดินทาง 8 น็อต 
กำลังพลประจำเรือ 28 นาย 

เครื่องจักร

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel กำลัง 510 แรงม้า 1 เครื่อง 
เพลาใบจักร 1 เพลา

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Koden 

ขีดความสามารถ 

ระวางบรรทุกน้ำมัน 180,000 ลิตร





ชุด ร.ล.เปริด 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

834 ร.ล.เปริด (16 ตุลาคม 2512) 
835 ร.ล.เสม็ด (15 ธันวาคม 2513) 

ผู้สร้าง 

กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย 

คุณลักษณะ 

834 
ระวางขับน้ำปกติ 360 ตัน เต็มที่ 475 ตัน 
ความยาว 37.4 ม. ความกว้าง 6.0 ม. กินน้ำลึก 2.7 ม. 
ความเร็ว สูงสุด 9 น็อต 
กำลังพลประจำเรือ 36 นาย 
835 
ระวางขับน้ำปกติ 115 ตัน เต็มที่ 360 ตัน 
ความยาว 37.4 ม. ความกว้าง 6.0 ม. กินน้ำลึก 2.7 ม. 
ความเร็วสูงสุด 9 น็อต ความเร็วเดินทาง 7 น็อต 
ระยะปฏิบัติ การที่ความเร็วสูงสุด 2,196 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 2,352 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 36 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Gray Marine 8-268A กำลัง 500 แรงม้า 1 เครื่อง 
เพลาใบจักร 1 เพลา 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Koden 

ขีดความสามารถ 


ระวางบรรทุก 210 ตัน ประกอบด้วยน้ำมัน 180,000 ลิตร และน้ำจืด 20 ตัน (834) หรือ 26 ตัน (835)

เรือน้ำ (เรือ น.)


ชุด ร.ล.จวง 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

841 ร.ล.จวง (18 เมษายน 2509) 

ผู้สร้าง 
กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 180 ตัน เต็มที่ 360 ตัน 
ความยาว 32.7 ม. ความกว้าง 6.0 ม. กินน้ำลึก 2.8 ม. 
ความเร็วสูงสุด 11 น็อต ความเร็วเดินทาง 8 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ ความเร็วสูงสุด 1,158 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 29 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Gray Marine กำลัง 500 แรงม้า 1 เครื่อง 
เพลาใบจักร 1 เพลา 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Koden 

ขีดความสามารถ 

ระวางบรรทุกน้ำจืด 180 ตัน



ชุด ร.ล.จิก 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

842 ร.ล.จิก (16 กันยายน 2517) 

ผู้สร้าง 

กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 125 ตัน เต็มที่ 368 ตัน 
ความยาว 38.8 ม. ความกว้าง 7.2 ม. กินน้ำลึก 1.4 ม. 
ความเร็วสูงสุด 9 น็อต ความเร็วเดินทาง 6 น็อต 
กำลังพลประจำ เรือ 36 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Gray Marine 8-268A กำลัง 500 แรงม้า 1 เครื่อง 
เพลาใบจักร 1 เพลา 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ Koden 

ขีดความสามารถ 


ระวางบรรทุกน้ำจืด 250 ตัน

เรือลากจูงขนาดเล็ก (เรือ ลจล.)



ชุด ร.ล.กลึงบาดาร 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

851 ร.ล.กลึงบาดาร (24 ธันวาคม 2497) 
852 ร.ล.มารวิชัย (24 ธันวาคม 2497) 

ผู้สร้าง 

Canadian Bridge ประเทศแคนาดา 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 63 ตัน 
ความยาว 20.5 ม. ความกว้าง 5.0 ม. กินน้ำลึก 1.4 ม. 
ความเร็วสูงสุด 8 น็อต ความเร็วเดินทาง 6 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,600 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 1,800 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 27 นาย

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล กำลัง 360 แรงม้า 1 เครื่อง 

เพลาใบจักร 1 เพลา

เรือลากจูงขนาดกลาง (เรือ ลจก.)




ชุด ร.ล.ริ้น 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

853 ร.ล.ริ้น (5 มีนาคม 2524) 
854 ร.ล.รัง (5 มีนาคม 2524) 

ผู้สร้าง 

Singmarine Shipyard ประเทศสิงคโปร์ 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 350 ตัน เต็มที่ 421 ตัน 
ความยาว 32.3 ม. ความกว้าง 9.0 ม. กินน้ำลึก 3.2 ม. 
ความเร็วสูงสุด 13 น็อต ความเร็วเดินทาง 10 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 2,600 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 4,760 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 26 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล กำลัง 2,100 แรงม้า 1 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล Detroit Diesel 6V-71 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 1 เพลา



ชุด ร.ล.แสมสาร 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

855 ร.ล.แสมสาร (22 กันยายน 2537) 
856 ร.ล.แรด (20 พฤศจิกายน 2537) 

ผู้สร้าง 

กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 328 ตัน เต็มที่ 385 ตัน 
ความยาว 25.0 ม. ความกว้าง 8.5 ม. กินน้ำลึก 4.6 ม. 
ความเร็วสูงสุด 10 น็อต ความเร็วเดินทาง 8 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 2,320 ไมล์ ที่ความเร็วเดินทาง 2,598 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 22 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล กำลัง 900 แรงม้า 2 เครื่อง 

เพลาใบจักร 2 เพลา

เรือสำรวจขนาดใหญ่ (เรือ สรญ.)




ชุด ร.ล.จันทร 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ

811 ร.ล.จันทร (30 พฤษภาคม 2504) 

หมาย เหตุ 

กองทัพเรือเคยจัดถวายเป็นเรือที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ ในโอกาสเสด็จประพาสทางทะเลหลายครั้ง

ผู้สร้าง 

Friedrich Lurssen Werft ประเทศเยอรมนี 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 996 ตัน 
ความยาว 69.9 ม. ความกว้าง 10.5 ม. กินน้ำลึก 3.2 ม. 
ความเร็วสูงสุด 13 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 10,000 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 70 นาย

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MWM (Deutz) กำลัง 545 แรงม้า 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา



ชุด ร.ล.ศุกร์ 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

812 ร.ล.ศุกร์ (3 มีนาคม 2525) 

ผู้สร้าง 

Bangkok Dock ประเทศไทย - Ferrostaal ประเทศเยอรมนี 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 1,400 ตัน เต็มที่ 1,526 ตัน 
ความยาว 62.9 ม. ความกว้าง 11.0 ม. กินน้ำลึก 4.0 ม. 
ความเร็วสูงสุด 15 น็อต ความเร็วเดินทาง 12 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 5,000 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 59 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 396 TC62 กำลัง 1,200 แรงม้า 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Oerlikon Mk 4 ขนาด 20 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

ขีดความสามารถ 

เครนท้ายเรือ และเครนประจำที่สำหรับยกอุปกรณ์สำรวจ 5 ชุด



ชุด ร.ล.พฤหัสบดี
ไม่มีรูป 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

813 ร.ล.พฤหัสบดี (19 สิงหาคม 2551) 

ผู้ สร้าง 

Unithai Shipbuilding and Engineering - Shelde Naval Shipbuilding Joint Venture ประเทศไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 1,344 ตัน เต็มที่ 1,636 ตัน 
ความยาว 66.3 ม. ความกว้าง 13.2 ม. กินน้ำลึก 3.3 ม. 
ความเร็วสูงสุด 12 น็อต ความเร็วเดินทาง 10 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 3,000 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 71 นาย

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล-ไฟฟ้า Caterpillar 3508B กำลัง 1,000 แรงม้า 3 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า Caterpillar C9 กำลังไฟฟ้า 200 กิโลวัตต์ 1 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน Caterpillar 3056 กำลังไฟฟ้า 84 กิโลวัตต์ 
เครื่องขับดันและบังคับทิศทางแบบ azimuth thruster ZF Marine HRP AT 4011 WM-FP (L-drive) กำลัง 714 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องผลักดันหัวเรือ (bow thruster) Jastram 20F กำลัง 206 แรงม้า

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Rheinmetall Mk 20 DM6 ขนาด 20 มม./85 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ 2 ชุด 
วิทยุสื่อสาร VLF/HF/VHF/UHF/HF modem 
ระบบแสดงตนอัตโนมัติสำหรับเรือ AIS และ GMDSS 
ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (IBS)

ขีดความสามารถ 

(1) ภารกิจ 
สำรวจแผนที่ทะเล สำรวจสมุทรศาสตร์ เพื่อรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นต่อการเดินเรือ การปฏิบัติการทางเรือ และการให้บริการด้านความปลอดภัยในการเดินเรือทะเล 
สนับสนุนปฏิบัติการต่อต้านทุ่นระเบิด กู้ภัยทางทะเล อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง ขจัดคราบน้ำมันในทะเล และสนับสนุนการฝึกภาคปฏิบัติในทะเล 
(2) อุปกรณ์สำรวจอุทกศาสตร์และสมุทรศาสตร์ 
ศูนย์ประมวลผลข้อมูลอุทกศาสตร์ 
เครื่องหยั่งน้ำ (echo sounder) 
- แบบลำคลื่นเดียว ความลึกสูงสุด 3,000 ม. 
- แบบหลายลำคลื่น ความลึกสูงสุด (multi-beam) 200 ม. 
โซนาร์แบบกวาดทางข้าง (side scan sonar) 
ระบบสำรวจพื้นท้องทะเลแบบ ultra short base line (USBL) 
ระบบตรวจวัดการเคลื่อนไหวตัวเรือ 
เครื่องวัดระดับน้ำ 
ระบบจัดเก็บและตรวจวัดน้ำทะเล 
เครื่องวัดอุณหภูมิและความเร็วเสียงใต้น้ำอัตโนมัติ 
เครื่องตรวจวัดกระแสน้ำ 
เครื่องวิเคราะห์พื้นท้องทะเล 
เครื่องมือเก็บตะกอนท้องทะเล 
เครื่องมืออุปกรณ์วิเคราะห์ข้อมูลด้านสมุทรศาสตร์ 
ระบบหาตำบลที่เรือด้วยดาวเทียม DGPS 
ระบบสารสนเทศเพื่อการเดินเรือ ECDIS 
เรือเล็กประจำเรือ ประกอบด้วย 
- เรือสำรวจ 2 ลำ 
- เรือใช้สอย 2 ลำ 

- เรือยาง 2 ลำ

เรือสำรวจขนาดเล็ก (เรือ สรล.)



ชุด อศ.3 
ไม่มีรูป

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

อศ.3 (30 เมษายน 2515) 

ผู้สร้าง 

Bangkok Dock ประเทศไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำปกติ 86 ตัน 
ความยาว 22.3 ม. ความกว้าง 5.0 ม. กินน้ำลึก 2.0 ม. 
ความเร็วสูงสุด 10 น็อต ความเร็วเดินทาง 8 น็อต 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,000 ไมล์ 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล กำลัง 385 แรงม้า 1 เครื่อง 
เพลาใบจักร 1 เพลา

เรือใช้งานเครื่องหมายทางเรือ (เรือ งคร.)

ชุด ร.ล.สุริยะ
ไม่มีรูป 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

821 ร.ล.สุริยะ (15 มกราคม 2522) 

ผู้สร้าง 

Bangkok Dock ประเทศไทย 

ขนาด 

ระวางขับน้ำปกติ 650 ตัน เต็มที่ 960 ตัน 
ความยาว 54.2 ม. ความกว้าง 10.2 ม. กินน้ำลึก 3.0 ม. 
ความเร็วสูงสุด 12 น็อต ความเร็วเดินทาง 10 น็อต 
ระยะปฏิบัติ การที่ความเร็วเดินทาง 3,000 ไมล์ 
กำลังพลประจำเรือ 60 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 8V 396 TC กำลัง 720 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล กำลังไฟฟ้า 300 กิโลวัตต์ 
เพลาใบจักร 2 เพลา 
เครื่องผลักดันหัวเรือ (bow thruster)
ขีดความสามารถ 

เครนประจำที่สำหรับยกทุ่น 1 ชุด บริเวณหัวเรีือ รองรับน้ำหนักได้ 10 ตัน 
ระวางบรรทุกน้ำมันเชื้อเพลิง อุปกรณ์ซ่อมบำรุง สำหรับเครื่องหมายทางเรือ รวม 270 ตัน

เรือที่อยู่ระหว่างการสร้าง/สั่งซื้อ


โครงการ เรือสนับสนุนการปฏิบัติการทางเรือ (Marsun M36 Crew Boat) 

ชื่อเรือ และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

ต. (2556) 
ต. (2556)
ต. (2556)

ผู้สร้าง

Marsun ประเทศไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ 150 ตัน 
ความยาว 36 ม. ความกว้าง 7.6 ม. กินน้ำลึก 1.7 ม. 
ความเร็วสูงสุด 27 น็อต 
ความคงทนทะเลระดับ sea state 5 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 1,200 ไมล์ (ปฏิบัติการต่อเนื่องนาน 10 วัน)
กำลังพลประจำเรือ 28 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Cummins K50-M กำลัง 1,600 แรงม้า 3 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล กำลังไฟฟ้า 112 กิโลวัตต์ 2 เครื่อง
เพลาใบจักร 3 เพลา ใบจักรแบบมุมตายตัว 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม./93 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ 2 ชุด 

ขีดความสามารถ 

ดาดฟ้าท้ายเรือเปิดโล่งขนาด 93 ตร.ม. 
พื้นที่ระวางบรรทุกบนดาดฟ้าท้ายเรือ ขนาด 63 ตร.ม. รองรับน้ำหนักได้ 50 ตัน 
บรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ มาตรฐาน ISO ขนาด 20 ฟุต ได้ 2 ตู้

โครงการ เรือน้ำมัน ชุดใหม่ 

ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ 

836 (2557) 

ผู้สร้าง

Bangkok Dock ประเทศไทย 

คุณลักษณะ 

ระวางขับน้ำเต็มที่ ตัน 
ความยาว 63.5 ม. ความกว้าง 12 ม. กินน้ำลึก 3.9 ม. 
ความเร็วสูงสุด 12 น็อต ความเร็วเดินทาง 10 น็อต 
ความคงทนทะเลระดับ sea state 5 
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 4,000 ไมล์ (ปฏิบัติการต่อเนื่องนาน 12 วัน) 
กำลังพลประจำเรือ 42 นาย 

เครื่องจักร 

เครื่องจักรใหญ่ดีเซล Wartzila กำลัง 1,073 แรงม้า 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MAN กำลังไฟฟ้า 265 กิโลวัตต์ 2 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา 
ความจุถังเชื้อเพลิงหลัก 90,000 ลิตร ถังเชื้อเพลิงสำรอง 8,000 ลิตร 
ความจุถังน้ำจืด 100 ลิตร 

อาวุธ 

ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม./93 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 

อิเล็กทรอนิกส์ 

เรดาร์เดินเรือ 2 ชุด 

ขีดความสามารถในการส่งกำลังบำรุง 

(1) ระวางบรรทุกเชื้อเพลิงดีเซลเรือ (DFM) 1,200 กิโลลิตร 
(2) การส่งน้ำมันทางกราบเรือ 
ระบบเติมเชื้อเพลิงขณะเรือจอด 2 ระบบ 
เครนติดตั้งท่อเติมเชื้อเพลิง บริเวณดาดฟ้ากลางลำ 
สามารถปฏิบัติงานพร้อมกันได้ทั้งกราบซ้ายและขวา เพื่อส่งน้ำมันให้เรือ 2 ลำพร้อมกัน 
สามารถรับการเข้าเทียบของเรือที่มีระวางขับน้ำไม่น้อยกว่า 500 ตัน 2 ลำ ขณะเรือจอดทอดสมอ 
(3) การส่งน้ำมันทางท้ายเรือ 
ระบบเติมเชื้อเพลิงในทะเลทางท้ายเรือ astern fueling-at-sea (AFAS) บริเวณดาดฟ้าท้ายเรือใต้ลานจอดเฮลิคอปเตอร์ 
สามารถส่งน้ำมันได้ขณะเรือเดิน 

ขีดความสามารถอื่นๆ 

ห้องพักสำรองสำหรับกำลังพลเพิ่มเติม 12 นาย 
ลานจอดเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Agusta Westland Super Lynx 300 1 เครื่อง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น